ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry Laboratory for Engineers

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.1  รู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางเคมี
1.2  มีทักษะในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือในปฏิบัติการทางเคมี และการคำนวณปริมาณสารสัมพันธ์
1.3  มีทักษะในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการเตรียมสารละลาย การคำนวณหาความเข้มข้น และการทดสอบสมบัติของแก๊ส ของเหลว ของแข็ง และสารละลาย
1.4  มีทักษะการหาอัตราเร็วของปฏิกิริยาเคมี การศึกษาเกี่ยวกับสมดุลเคมี และการไทเทรตกรด-เบส
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการเรียนในวิชาชีพต่อไป
ปฏิบัติการเกี่ยวกับ การชั่ง-ตวงทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณสารสัมพันธ์ การเตรียมสารละลายและการคำนวณหาความเข้มข้น สมบัติของก๊าซ โครงสร้างของผลึกสามัญบางชนิด สมบัติของของเหลว ความหนืดของของเหลว สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย คอลลอยด์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนิกของปฏิกิริยากรด เบส เกลือ
Operating on the scientific measurement, stoichiometry, prepare the chemical solutions, gases properties, crystal structures, liquid properties, viscosity, colligative properties, colloid, the chemical reactions rate, chemical equilibrium and the ionic equilibrium reaction of the acid base salt.
1
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)    
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)   
4. การสอนในห้องปฏิบัติการ     
5. การสอนแบบสาธิต  
6. การสอนแบบบรรยาย
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)    
3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
5. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
7. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 
8. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)     
9. การสอนฝึกปฏิบัติการ
10. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)  
11. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  
12. การสอนในห้องปฏิบัติการ
13. การสอนแบบสาธิต  
14. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
15. การสอนแบบปฏิบัติ 
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)    
3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
5. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนในห้องปฏิบัติการ
9. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)  
10. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  
11. การสอนแบบสาธิต  
12. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
13. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
14. การสอนแบบปฏิบัติ 
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
š4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)   
5. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)  
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
9. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
10. การสอนแบบปฏิบัติ 
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-   ใช้สื่อ Power point ในการนำเสนอเพื่อเพิ่มความรู้และความเข้าใจในเนื้อหา โดยการนำแบบจำลองคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องสมดุลเคมี ของอาจารย์สมัชญ์ ทวีเกษมสมบัติ มาช่วยในการบรรยายให้เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น
-  การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลวารสารวิจัยวิทยาศาสตร์ในฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อเพิ่มองค์ความรู้ให้มีความหลากหลาย
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-   ปฏิบัติการในห้องทดลอง โดยให้นักศึกษาเป็นผู้ร่วมวิจัยในโครงการวิจัยของคณาจารย์กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (เคมี)
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การเขียนบันทึก
3. การสังเกต
4. ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 FUNSC202 ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3 รายงานผลการทดลอง 1 - 15 50 %
2 2.1, 3.2 การสอบกลางภาค 9 20 %
3 2.1, 3.2 การสอบปลายภาค 17 20 %
4 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1 - 15 2 %
5 1.3, 4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1 - 15 2 %
6 1.1, 1.4, 4.1, 4.2, 4.3 การประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 1 - 15 2 %
7 4.1, 4.2, 4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 1 - 15 2 %
8 4.2, 4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา 1 - 15 2 %
คู่มือปฏิบัติการ FUNSC202 ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกร
1. คู่มือปฏิบัติการเคมีทั่วไป ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. คู่มือปฏิบัติการเคมีทั่วไป ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. คู่มือปฏิบัติการเคมีระดับมหาวิทยาลัย
2. e-learning ปฏิบัติการเคมีเบื้องต้นของมหาวิทยาลัยต่างๆ
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชาซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชาจากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
กลุ่มวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในกลุ่มวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
กลุ่มวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของกลุ่มวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
กลุ่มวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของกลุ่มวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้ากลุ่มวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป