กลศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Mechanics

1. เพื่อศึกษาและคำนวณหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพะ์ของระบบแรง การสมดุลย์และการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฏข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
2. เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษากลศาสตร์วิศวกรรม
          2.1  เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย ครอบคลุมต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีในปัจจุบัน           2.2  เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนักศึกษาและความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต           2.3  เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
พื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกล คิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
3.1  อาจารย์ประจำวิชาปฐมนิเทศและแจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับความสำคัญของวิชา    วิธีการดำเนินการเรียนการสอน  และเวลาที่ใช้ศึกษานอกเวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์ 3.2  อาจารย์ประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ต่อกลุ่มเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าขอรับคำปรึกษาทั้งแบบเผชิญหน้า (Face to Face) และผ่านสื่อเครือข่ายสังคม (Social media)
1. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1. ยกกรณีศึกษาในสถานการณ์ปัจจุบัน ในด้านคุณธรรม จริยธรรม มาสอนในช่วงเริ่มต้นชั่วโมงสอนแต่ละครั้ง
1. จิตพิสัยของนักศึกษาตลอดภาคการศึกษา 2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายไว้รวมถึงความประณีต เรียบร้อยของงานที่สะท้อนถึงความตั้งใจความรับผิดชอบของนักศึกษา
 
1. มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหารายวิชากลศาสตร์วิศวกรรม เพื่อประยุกต์ใช้งานกับงานด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 2. สามารถนำความรู้ในเนื้อหารายวิชาที่ได้เรียนรู้มาบูรณาการกับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องจนเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมใหม่ ๆ
1. บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ 2. สอนแบบถามตอบและให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียนเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างเพื่อนกับเพื่อน
1. งานและแบบฝึกหัดที่มอบหมาย 2. การสอบย่อย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
1. งานและแบบฝึกหัดที่มอบหมาย 2. การสอบย่อย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
1. เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ Problem-based learning เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหาและการถ่ายโยงความรู้  และอภิปราย ถกแถลง ในชั้นเรียนเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างเพื่อนกับเพื่อน
1. งานและแบบฝึกหัดที่มอบหมาย 2. การสอบย่อย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
1. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทางกลศาสตร์วิศวกรรมของตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. รู้จักบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ  มีสมรรถนะในการทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. สอนแบบถามตอบและให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ Problem-based learning เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหาและการถ่ายโยงความรู้  และอภิปราย ถกแถลง ในชั้นเรียนเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างเพื่อนกับเพื่อน
1. ไม่ได้เน้นการพัฒนาทางด้านนี้ จึงไม่มีการจัดการประเมินผล
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรมได้อย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวนและเครื่องมือทางกลศาสตร์วิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องได้
1. สอนแบบถามตอบและให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ Problem-based learning เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหาและการถ่ายโยงความรู้  และอภิปราย ถกแถลง ในชั้นเรียนเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างเพื่อนกับเพื่อน
1. ไม่ได้เน้นการพัฒนาทางด้านนี้ จึงไม่มีการจัดการประเมินผล
- ไม่มี -
- ไม่มี -
- ไม่มี -
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม ความรู้ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เฃิงตัวเลฃ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 1 2 3 4 5
1 ENGCC302 กลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 สอบเก็บคะแนน 1 สอบกลางภาค สอบเก็บคะแนน 2 สอบปลายภาค 5 9 13 17 20 % 20 % 20 % 20 %
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
3 1.1.1 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1.1 Bela I. Sandor., Michael J. Moran. (1999). Mechanical Engineering Handbook. frankkreith. 1.2 R. C. Hibbeler. (2016). Engineering mechanics Statics and Dynamics. fourteenth edition. Pearson Prentice Hall.
- ไม่มี -
3.1 Engineering Mechanic STATICS 10th Ed. R.C. Hibbeler. 3.2 Engineering Mechanics DYNAMICS 3rd ed. Hibbeler.R.C. 3.3 Mechanical Engineering Design 7th Ed. Shigley. 3.4 Vector Mechanics for Engineers STATICS 10th solutions. Beer.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้     1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาผ่านระบบออนไลน์     1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์  ดังนี้           2.1 การสังเกตการณ์การทำแบบฝึกหัดของนักศึกษาระหว่างเรียน และงานมอบหมายที่นักศึกษาทำส่ง           2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา           2.3 ผลการประเมินการสอนของอาจารย์
ปรับการสอนรายสัปดาห์โดยพิจารณาจากผลข้อ 2.1
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้            4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร            4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้           5.1 ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4           5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ