การเตรียมโครงงานครุศาสตร์อุตสาหการ

Industrial Technical Education Pre-Project

ปฏิบัติการเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมทางด้านการศึกษา หรือด้านวิศวกรรมอุตสาหการ เพื่อเขียนและนำเสนอโครงร่างของโครงงาน ประกอบด้วย การตั้งชื่อโครงงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน การจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล 
.1. การศึกษาค้นคว้าบทความและงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมทางด้านการศึกษา
2. วิธีการเขียนรายงาน และความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขตขั้นตอน และแผนการดำเนินงาน
3. การจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอโครงงาน 
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมทางด้านการศึกษาหรือด้านวิศวกรรมอุตสาหการ เพื่อเขียนและนำเสนอโครงร่างของโครงงาน ประกอบด้วย การตั้งชื่อโครงงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน การจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงว่างของการเรียน  
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  (4) เคารพในคุณค่าและศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม  2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น  3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่า  เป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้  เหมาะสมมากขึ้น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งต้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา  (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ ศึกษา  (3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ  (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน  2. อภิปรายกลุ่ม  3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้  2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  (3) สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำ  ตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม  (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกไฃป้ญหาอย่าง เหมาะสม  (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตาม กาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล 
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม  (2) มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา  2. การออกไปปฏิบัติงานจริงในการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา  2. ประเมินจากปฏิบัติการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDIE913 การเตรียมโครงงานครุศาสตร์อุตสาหการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 -งานที่มอบหมายครั้งที่ 1 พิจารณาจากความเป็นไปได้ของโครงงาน การนำไปใช้งานได้จริง -งานที่มอบหมายครั้งที่ 2 พิจารณาจากความถูกต้องควบถ้วน มีมาตรฐานรองรับ -งานที่มอบหมายครั้งที่ 3 พิจารณาจากความถูกต้องครบถ้วน มีเอกสารอ้างอิง มีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -รายงานประกอบการนำเสนอครั้งที่ 2 4 7-8 7-8 15-16 10% 5% 5% 30%
2 นำเสนอโครงงานครั้งที่ 1 นำเสนอโครงงานครั้งที่ 2 7-8 15-16 10% 30%
3 การเข้าชั้นเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน อภิปรายเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
รายละเอียดการจัดทำปริญญานิพนธ์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา พิษณุโลก
ตัวอย่างปริญญานิพนธ์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
http://dcms.thailis.or.th/dcms/index.php  
http://www.find-docs.com/index.php  
http://www.eit.or.th /ejournal.php?siteid=0&option=ejournal&lang=th  
http://www.cpacacademy.com  
http://libary.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/searchin g.php  
http://www.sciencedirect.com
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน  
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  
1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน e-mail address ของอาจารย์ผู้สอน 
2.1 ผลการประเมินของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา  
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
4.1 การทวนตรวจสอบการให้คะแนนการส่งตรวจผลงานของ นักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการประจำสาขาวิชา ตรวจสอบการ ประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองใน เรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือ อุตสาหกรรมต่างๆ