การควบคุมคุณภาพ

Quality Control

เพื่อต้องการให้ผู้ที่ศึกษาวิชานี้ได้เรียนรู้ถึงหลักการศึกษา การควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การบริการ สามารถเลือกใช้ เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพทั้ง 7 อย่างได้อย่างเหมาะสม เช่น แผนภูมิพาเรโต แผนภูมิก้างปลา แผนการควบคุมคุณภาพ ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนการควบคุมคุณภาพ กำหนดแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เทคนิคในการะดมสมอง และการดำเนินกิจกรรม กลุ่มสร้างคุณภาพ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบคุณภาพ ความเชื่อถือได้และการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์
เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเนื้อหาให้เข้ากับตำราเรียนเล่มใหม่ให้ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น  - เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติ บัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา    
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการในการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การบริการ สามารถเลือกใช้เครื่องมือ ในการควบคุมคุณภาพทั้ง 7 อย่างได้อย่างเหมาะสม เช่น แผนภูมิพาเรโต แผนภูมิก้างปลา แผนการควบคุม คุณภาพ ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ แผนการสุ่มตัวอย่าง เพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เทคนิคในการระดมสมอง และการดำเนินกิจการกลุ่มสร้างคุณภาพ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น จากการมีระบบคุณภาพ ความเชื่อถือได้และการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์ 
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง  
วันพุธ เวลา 15.00 –16.00 น. ห้อง 731  
E-mail ; nichbooniam@gmail.com
โทรศัพท์มือถือ ; 088-1620600 
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  (4) เคารพในคุณค่าและศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม  2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น  3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่า  เป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้  เหมาะสมมากขึ้น 
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งต้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา  (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ ศึกษา  (3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ 
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ  (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน  2. อภิปรายกลุ่ม  3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้  2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  (3) สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำ  ตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม  (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกไฃป้ญหาอย่าง เหมาะสม  (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตาม กาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล 
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม  (2) มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา  2. การออกไปปฏิบัติงานจริงในการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา  2. ประเมินจากปฏิบัติการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDIE907 การควบคุมคุณภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 9 14 17 10% 20% 10% 25%
2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานการอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่ มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 25%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สุกัญญา ทับทิม . เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ.ผศ.สมศักดิ์ แก้วพลอย .คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฎ สงขลา.โรงพิมพ์ภาพพิมพ์,2550  
การควบคุมคุณภาพ.เกษม พิพัฒน์ปัญญานุกูล .คณะวิศวกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.  ศรม. โรงพิมพ์ประกอบเมไตร,2538  
การควบคุมคุณภาพ.รศ.ศุภชัย นาทะพัทธ์ .คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล.ซีเอ็ดยูเคชั่น,2551
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาการควบคุมคุณภาพ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน appication LINE ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจeหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมิน การเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้ คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอน
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือ อุตสาหกรรมต่าง ๆ