พืชสวนประดับ

Ornamental Horticulture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตพืชสวนประดับ อย่างครบวงจร สามารถกำหนดนิยามความหมาย ความสำคัญ การจัดจำแนก อธิบายลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชสวนประดับชนิดต่างๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชสวนประดับ อธิบายวิธีการขยาย พันธุ์ การปลูกและการปฏิบัติบำรุงรักษาพืชสวนประดับเพื่อการจำหน่าย การจำหน่ายพืชสวนประดับ
1.2 นำความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีการผลิตพืชสวนประดับ ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง
1.3 สามารถวิเคราะห์ตลาดพืชสวนประดับ และความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ได้
1.4 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพผู้ผลิตพืชสวนประดับและอาชีพที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน
1.5 มีทักษะปฏิบัติด้านการขยายพันธุ์ การปลูกและการบำรุงรักษาพืชสวนประดับ มีการฝึกทักษะอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอจนเกิดความชำนาญ สามารถสาธิต ถ่ายทอดองค์ความรู้และทักษะปฏิบัติให้แก่ผู้ที่สนใจได้
เพื่อฝึกทักษะด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการนำเทคโนโลยีด้านการผลิตมาใช้ในการผลิตพืชสวนประดับ เพื่อการค้าและการจัดจำหน่ายในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการเพิ่มพูนความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและนำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการผลิตและการจัดจำหน่าย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวนประดับ พฤกษศาสตร์ การจัดจำแนกพืชสวนประดับ พืชสวนประดับเพื่อการค้าวงศ์ต่างๆ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์และลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืชสวนประดับชนิดต่างๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชสวนประดับ การขยายพันธุ์ การปลูกและบำรุงรักษา การเตรียมพืชสวนประดับเพื่อจำหน่าย                                                     
3.2 นักศึกษาขอคำปรึกษาและคำแนะนำได้ทาง e-mail; pikul.rmutl@gmail.com  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1.ทำการสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  โดย
     - สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
     -กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
2.การสอนแบบ  Problem Based Learning  
     - ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
ใช้วิธีการสังเกต จาก
    - การเข้าเรียนตรงเวลา
    - การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
   - ไม่ทุจริตในการสอบ
   -ความมีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
     - มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การสอนแบบบรรยาย
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
4. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
1. การนำเสนองาน
       - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ข้อสอบอัตนัย
        - ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
3. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกตีความ
4.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
5. การเขียนบันทึกผลการปฏิบัติ
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนแบบ  Problem Base Based Learning โดยให้ทำโครงงานพิเศษการขยายพันธุ์ การปลูกเลี้ยงและบำรุงรักษาพืชสวนประดับเพื่อการจำหน่าย กลุ่มละ 200 ต้น
2.การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
   - ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา
3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
   

 
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ
2. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกวิเคราะห์ปัญหาและฝึกตีความ
3.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
4. การประเมินตนเอง
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.การสอนแบบ  Brain  Storming Group
2.. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
   -มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาเป็นผู้แบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
1.การสังเกต
2.การประเมินตนเอง
3.การประเมินโดยเพื่อน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนแบบ  Problem Base Based Learning โดยให้ทำโครงงานพิเศษแล้วจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
โดยกำหนดให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง
2. แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การนำเสนองานด้วยวาจาและ PowerPoint
การนำเสนองาน
      ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องของ
        - สื่อที่ใช้
        - เนื้อหาที่นำเสนอ  
        - ภาษาที่ใช้           
          -การตอบคำถาม
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
š6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
š6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21034302 พืชสวนประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน พฤติกรรมระหว่างเรียนภาคปฏิบัติ 1 - 16 7 %
2 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การทดสอบย่อย การทำบทปฏิบัติการ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค mุกสัปดาห์ 10% 25% 15% 20%
3 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง - ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ 2.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 3.การเขียนบันทึก 4. การประเมินตนเอง 2-15 15%
4 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 3%
5 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเสนองาน/การรายงาน ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องขององค์ประกอบในการนำเสนอ เช่น -การเตรียมความพร้อม - สื่อที่ใช้ - เนื้อหาที่นำเสนอ - ภาษาที่ใช้ -การตอบคำถาม 17 5%
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2556.องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต..สู่การเป็น smart officer : ไม้ดอกไม้
        ประดับ. แหล่งข้อมูล  http://agrimedia.agritech.doae.go.th/book/book-handbook/10      
         pdf.
กิตติ มุลาลินน์. 2537.  พืชสวนประดับ:เอกสารประกอบการสอน วิชา 03-132-202 พืชสวน
            (Ornamental  horticulture ) ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบัน
             เทคโนโลยีราชมงคล, สุรินทร์. 163  หน้า.
ปิฏฐะ บุนนาค. 2529. ไม้ดอกไม้ประดับ. พิมพ์ครั้งที่ 5 .กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 383 หน้า.
งานส่งเสริมและเผยแพร่และงานวิชาการ . 2537. คู่มือไม้ดอกไม้ประดับ . ฝ่ายวิชาการเกษตร กอง
           สวนสาธารณะสำนักสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร  กรุงเทพฯ .
โชติอนันต์ และคณะ. 2552.  คุณประโยชน์มากหลาย ไม้ดอกไม้ประดับเมืองไทย.กรุงเทพฯ : ดวงกมล
            พับลิชชิ่ง. 294 หน้า
ณรงค์ โฉมเฉลา (บรรณาธิการ). 2534.    เทคโนโลยีการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ.   กรุงเทพฯ : สมาคมไม้
             ประดับแห่งประเทศไทย, 193 หน้า.
ดนัย บุณยเกียรติ และคณะ. 2546. คู่มือมาตรฐานคุณภาพไม้ดอกไม้ประดับโครงการหลวง.เชียงใหม่] :
            สำนักพัฒนาเกษตรที่สูง : มูลนิธิโครงการหลวง.. 82 หน้า.
พิสมัย ชวลิตวงษ์พร. 2538. แมลงศัตรูไม้ดอกไม้ประดับของประเทศไทย : เอกสารวิชาการประจำปี 2538.
            กรุงเทพฯ]: กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 148 หน้า.
ไพฑูรย์ กิจเภาสงค์ . 2528.  การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ  ขอนแก่น : ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
             มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 119 หน้า.
มุกดา สุขสวัสดิ์. 2547. วัสดุปลูกไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : บ้านและสวน. 204 หน้า .
รสสุคนธ์ พุ่มพันธุ์วงศ์. 2548. ไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร.132 หน้า.
วาลุลี โรจนวงศ์. 2525.  การศึกษาศัตรูที่สำคัญบางชนิดของไม้ดอกไม้ประดับและการป้องกันกำจัด.   
          กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.4 หน้า.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม.2542. พจนานุกรมไม้ดอกไม้ประดับในเมืองไทย.กรุงเทพฯ : รวมสาส์น  พิมพ์ครั้งที่ 4 
           981  หน้า
สุนทร ปุณโณทก. 2522. ไม้ดอกไม้ประดับและการตกแต่งสถานที่. กรุงเทพฯ : ภาษิต,  262 หน้า.
สมสุข มัจฉาชีพ และ อุดมลักษณ์ มัจฉาชีพ. 2536. ไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา. 215 หน้า
อดิศร กระแสชัย. 2539. ปัจจัยเพื่อการสนับสนุนระบบการผลิตไม้ตัดดอกและไม้ประดับเป็นการค้าของ
         ประเทศไทย เชียงใหม่ : ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  131 หน้า.
อทิพัฒน์ บุญเพิ่มราศรี . 2552. หลากหลายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการจัดสวน ณ สวนวิชา จ.ระยอง.
         เคหการเกษตร. 33(8): 192-195.
โอฬาร พิทักษ์, ภาวนา อัศวะประภา, เศรษฐพงศ์ เลขะวัฒนะ,ทวีพงศ์ สุวรรณโร และ อภิชาติ สุวรรณ.
          2539.การผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ. 153 หน้า.
ข่าวเกษตรประจำวัน. 2551.   วช.วิจัยไม้ดอกไม้ประดับรับส่งออก . แหล่งข้อมูล  
          http://www.phtnet.org/news51 /view-news.asp?nID=461
โครงการฐานข้อมูลการนำเข้าและความนิยมไม้ดอกและไม้ประดับไทยในญี่ปุ่น งบรายจ่ายอื่น งบประมาณ
          ประจำปี พ.ศ. 2551. แหล่งข้อมูล   
            http://www.thaiceotokyo.jp/th/index.php?option=com_content&view= article&id
              =346:2009-06-26-08- 07-20&catid=58:2008-12-04-06-09-49&Itemid=182 
จตุรพร รักษ์งาร.  การผลิตไม้ดอกไม้ประดับโดยผ่านสถานเพาะชำ. เอกสารประกอบการสอนของคณะ
           เกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร
           มหาวิทยาลัยนเรศวร .
           แหล่งข้อมูล. http://www.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/jaturaporn/learn04.pdf
ชมรมพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับ. 2539. การขยายพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ : เจเนอรัลบุ๊คส์.95 หน้า.
ดิน  ก้อนเดิม. 2551. การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ. ไม้ดอกไม้ประดับ. 7(97): 62-65
      นิรนาม. มปป. เทคโนโลยีการผลิตไม้ดอก. แหล่งข้อมูล webindex.chaonet.com/link.php?n
                 =9798
      นิรนาม. มปป. ธุรกิจไม้ดอกไม้ประดับ. แหล่งข้อมูลlearn.pbru.ac.th/mod/resource/ view.php?id
                  =1524
นิรนาม. 2556. สถานการณ์ไม้ดอกไม้ประดับไทย ปี 2556. แหล่งข้อมูล www.kehakaset.com        /index.php/9-uncategorised/1097-2556                                                                                   ภูเรือ.. แหล่งผลิตไม้ดอกไม้ประดับสำคัญของประเทศ. แหล่งข้อมูลhttp://www. loeidee.com/      index.php?lay = show&ac=article&Id=5351095 
 รุ่งนภา ก่อประดิษฐ์สกุล, ชวนพิศ อรุณรังสิกุล และ ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล. 2549. ระบบควบคุมคุณภาพ
           ผลผลิตทางการเกษตร ThaiGAP และ EUREPGAP : ข้อกำหนดทั่วไปสำหรับผักและผลไม้ ไม้
           ดอกไม้ประดับ.นครปฐม : กลุ่มเครือข่าย GAP ภาคตะวันตก / หน่วยธุรกิจทดลองระบบผลิต
           มาตรฐาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 96 หน้า.
รัฐศักดิ์ พลสิงห์. 2552. คลอง 15 – ถนนสายไม้ดอกไม้ประดับใหญ่ที่สุดในประเทศไทย.กสิกร 82(2) : 94-  100
สุธานิธิ์ ยุกตะนันทน์  อุไร จิรมงคลการ และวชิรพงศ์ หวลบุตตา. 2538. ไม้ดอกแสนสวย : ไม้ดอกไม้
          ประดับ.กรุงเทพฯ : บ้านและสวน. 151 หน้า.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2554. เจาะตลาดไม้ดอกไทยในต่างแดน อินโดฯ
           ตลาดใหญ่ทีไม่ควรมองข้าม. แหล่งข้อมูล http://www.acfs.go.th/read_ news.php?id
            =7360&ntype=09
หน่วยวิจัยธุรกิจการเกษตร คณะเศรษฐศาสตร์.2541. รายงานวิจัยโครงการศึกษาสินค้ายุทธศาสตร์ : ไม้
            ดอกไม้ประดับ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ. 284 หน้า.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์  ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
        สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของ
รายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดย
อาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหา
ที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการ
ดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณา
ให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป