โภชนศาสตร์สัตว์

Animal Nutrition

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.1  รู้ความหมาย และเข้าใจความสำคัญด้านโภชนศาสตร์สัตว์ที่มีต่อสัตว์และการเลี้ยงสัตว์ 1.2  รู้ประเภท และเข้าใจบทบาทของโภชนะต่างๆในร่างกายสัตว์
1.3  รู้ และเข้าใจการย่อยอาหาร ดูดซึมโภชนะของสัตว์
1.4  รู้ และเข้าใจกระบวนการเมตาโบลิซึมของโภชนะที่ให้พลังงาน
1.5  นำความรู้ ทักษะในการประเมิน และวิเคราะห์คุณภาพทางโภชนะในอาหารสัตว์ ไปประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงสัตว์จริงในชีวิตประจำวัน
1.6  รู้ และเข้าใจความต้องการโภชนะของสัตว์แต่ละชนิด
1.7  รู้ และเข้าใจปัญหาเกี่ยวกับโภชนศาสตร์สัตว์เขตร้อนและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น      
 
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานด้านโภชนศาสตร์สัตว์ที่มีอยู่พัฒนาการเรียนการสอนให้ทันสมัยมีความสอดคล้องกับความรู้วิทยาการเทคโนโลยีใหม่ๆ เหตุการณ์สภาพการผลิตสัตว์ในปัจจุบัน ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆในวงการปศุสัตว์ที่เกี่ยวกับโภชนศาสตร์สัตว์สู่การเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญด้านโภชนศาสตร์สัตว์  โภชนะชนิดต่างๆในอาหารสัตว์ การย่อยอาหาร ดูดซึมและเมตาโบลิซึมโภชนะแต่ละชนิด  ความต้องการโภชนะของสัตว์เลี้ยง การประเมิน และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนะในอาหารสัตว์   
 
3.1 วัน อังคาร และพุธ 13.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ ชั้น2          ตึกสัตวศาสตร์หลังเดิม  รวม 6 ชั่วโมง/สัปดาห์  โทร.081-9988779
3.2  e-mail; tukkatafay@yahoo.com  เวลา 20.00 – 24.00 น. ทุกวัน
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
    นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมเกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่นๆดังนี้ 1. มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดีมีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์มีความรับผิดชอบมีศีลธรรมซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่กับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 2. มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
    กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย  โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ  โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม  มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่นเป็นต้น  นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ เป็นต้น
  1.ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด   2.ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร   3.ประเมินการความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ   4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   5.ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น หรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน   6.ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานในชั้นเรียน ที่ไม่เลือกปฎิบัติและการไม่ละเมิดสทธิของผู้อื่น
    นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพทางการเกษตรและช่วยพัมนาสังคม  ดังน้ันมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้ 1.มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ(พืชศาสตร์/สัตวศาสตร์/ประมง) ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ให้มีความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.มีความรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีพ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
 
 
     ใช้การเรียนการสอนในหลากหลานรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี  ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมีการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฎิบัติงานในสถานประกอบการ
     ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆคือ 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ 5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 6. ประเมินจากรายวิชาฝึกงานหรือสหกิจศึกษา  
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดังนั้นนักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรมจริยธรรม และความรู้ในขณะที่สอนนักศึกษา อาจารย์ต้องเน้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆจากการสอนให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้ 1. สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 2. สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆอย่างสม่ำเสมอ และรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตรเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย 2. การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มา หรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด 3. ให้นักศึกษาปฏบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาเช่น 1 ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2 สัมภาษณ์หรือสอบปากเปล่า 3 การทดลองโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งดังนั้นอาจารย์ต้องสอดแทรกการสอนที่เกี่ยวข้องกับทักษะทางสังคมดังต่อไปนี้ 1. ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและปนะโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองในฐานะผู้นำและผู้ตาม  2. มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่มการทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ดังนี้
1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับโรงงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
5. มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6. สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆและครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพนักศึกษาต้องมีความรู้และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานการติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเองดังนั้นนักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรมและความรู้ด้านเกษตรศาสตร์ดังนี้
1. มีทักษะการสื่อสารหมายถึงความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารให้เหมาะสมกับสถานะการณ์และการใช้ภาษาอังกฤษในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
2. มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาเกษตรทั่วไป ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณืจำลอง สถานการณ์เหมือนจริง หรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษา หรือในการปฏิบัติงานจริงแล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้ข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
2. ประเมินจากความสามารถจากการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆประมวลผลและแปลความหมาย
3. การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
นักศึกษาต้องมีทักษะทางวิชาชีพคือมีทักษะและความเชี่ยววชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพสามารถแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมาและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาเกษตรทั่วไปให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและทักษะการปฏิบัติของนักศึกษาดังนี้
1. ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
2. ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
3. ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม และจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะเชิงวิเคราะห์ตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาชาวิชาชีพ(พืชศาสตร์/สัตวศาสตร์/ประมง) ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีพรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียนนำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆอย่างสม่ำเสมอ และรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณืที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 2 จิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่่านและเขียนเพื่อการสื่อสารให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษในการอ่านพูด ฟัง และเขียน 2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 ทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ(พืชศาสตร์/สัตวศาสตร์/ประมง)สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1 BSCAG208 โภชนศาสตร์สัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 ,4.1, 4.2, 4.3 การเข้าชั้นเรียน , การส่งรายงานตรงเวลา, การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-8 , 10-16 4-8 , 10-17 1-8 , 10-17 5%, 2.5%, 2.5%
2 3.1, 3.2,4.1, 4.2, 4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-8 , 10-17 2.5%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การทดสอบย่อย 5 ครั้ง 3,5,7,12,14 45%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 9 15%
5 1.2, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 12-16 15%
6 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 17 12.5 %
    นิรันดร  กองเงิน.  2549.  เอกสารประกอบการสอนวิชาโภชนศาสตร์สัตว์. สาขาสัตวศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำปาง,ลำปาง. 364 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล.  2541.  ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่  160 น. 
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล.  2546.  ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ปรับปรุงครั้งที่ 2.  ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.  202  น. 
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล.  2532.  โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 3 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่  258 น. 
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล.  2541.  โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 6 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่  170 น. 
บุญเสริม ชีวะอิสระกุล  และ  บุญล้อม ชีวะอิสระกุล.  2542.  พื้นฐานสัตวศาสตร์.  ธนบรรรณการพิมพ์,  เชียงใหม่.  186 น.
พรศรี  ชัยรัตนายุทธ์.  2536.  โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวบาล  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ.  258 น.
พานิช  ทินนิมิตร.  2535.  โภชนศาสตร์สัตว์ประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาสัตวศาสตร์  คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,  สงขลา.  251 น.
พันทิพา  พงษ์เพียจันทร์.  2535.  หลักอาหารสัตว์ เล่ม 1 โภชนะ. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.  กรุงเทพฯ.  208 น.
เพทาย   พงษ์เพียจันทร์.  2538.  สรีรวิทยาสัตว์เลี้ยง. ภาควิชาสัตวศาสตร์  คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.  เชียงใหม่.  282 น.
มนตรี  จุฬาวัฒนทล  ชิษณุสรร สวัสดิวัฒน์  ยงยุทธ ยุทธวงศ์  ภิญโญ พานิชพันธ์  ประหยัด    โกมารทัต  พิณทิพ รื่นวงษา  ธีรยศ วิทิตสุวรรณกุล  บุรชัย สนธยานนท์  สุมาลีตั้งประดับกุล  และ มธุรส พงษ์ลิขิตมงคล.  2542.  ชีวเคมี.  จิรรัชการพิมพ์,  กรุงเทพฯ.  589 น.
เยาวมาลย์ ค้าเจริญ และ สาโรช ค้าเจริญ.  2530.  อาหารและการให้อาหารสัตว์ปีก.  ภาควิชาสัตวศาสตร์  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น.  ขอนแก่น.  301 น.
ศรีสกุล วรจันทรา และ รณชัย  สิทธิไกรพงษ์.   2539. โภชนศาสตร์สัตว์. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.  กรุงเทพฯ.  216 น.
เสาวนิต  คูประเสริฐ.  2537.  โภชนาศาสตร์สัตว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา.  447 น.
อังคณา  หาญบรรจง  และ ดวงสมร  สินเจิมสิริ.  2532.  การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพอาหารสัตว์. ภาควิชาสัตวบาล  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ.  155 น.
Brody, T. 1994. Nutritional Biochemistry. Academic Press, Inc. California. U.S.A. 658 p.
Berne, R.M. and M.N. Levy.  1996.  Principle of physiology.  Mosy-Year book,Inc.  Missouri.  795 p.
Church,D.C.  1979.  Digestive physiology and nutrition of ruminants.  Vol.2 – Nutrition 2nd edition.  Oxford press.  Oregon.  452 p.
Chesworth, J.M., T. Stuchbury, J.R. Scaife.  1998.  An Introduction to Agricultural Biochemistry.  Chapman & Hall. New York.  489 p.
Dey, P. M. and J. B. Harborne. 1997. Plant Biochemistry. Academic Press Inc. California. 554 p.
Ensminger, M.E., J.E. Oldfield, W.W. Heinemann. 1990. Feed & Nutrition Digest. 2nd ed. The Ensminger publishing company.  California.  794 p.
Horton,H.R., L.A.,Moran,R.S.,Ochs,J.D.Rawn and K.G.Scrimgeour.  1992. Principles of Biochemistry. Prentice-Hall International Inc. New Jersey. 700 p.
McDonald, P., R. A. Edwards, and J. F. D. Greenhalgh.  1987.  Animal Nutrition. 4th ed. Longman Scientific & Technical, Essex, England.  543 p.
McDowell, L. R. 1992. Mineral in Animal and Human Nutrition. Academic Press, Inc. California. 523 p.
McDowell, L. R. 1997.  Minerals for Grazing Ruminants in Tropical Regions. 3th edition.  IMC AGRICO.  Feed ingredients, Florida.  81 p.
McKee, T. and J.R., McKee. 2003.  Biochemistry: The Molecular Basis of Life. 3th edition.  McGraw –Hill,  New York.
Miller, E. R., D. E. Ullrey, A. J. Lewis.   1991.  Swine Nutrition.  Butterworth-Heunemann, London.  673 p.
NRC. 1988. Nutrient Requirements of Dairy Cattle.  6th Revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
NRC. 1994.  Nutrient Requirements of Poultry.  9th revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
NRC. 1996. Nutrient Requirements of Beef Cattle.  7th revised edition. National Academy Press, Washiton,D.C.
NRC. 1998. Nutrient Requirements of Swine.  10th revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
Pond, W.G., D.C. Church and K.R. Pond.  1995.  Basic  Animal Nutrition. 4th edition.. John Willey & Son,   New York. 615 p.
Ranjhan, S. K. 1993.  Animal Nutrition and Feeding Practices. 4th edition.  Vikas publishing house PVT Ltd.,  New Delhi,  India.  415 p.
วารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาโภชนศาสตร์สัตว์ ได้แก่ วารสารสัตวบาล  J. of Animal Science, J. of Dairy Science, Poultry Science เป็นต้น
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาโดยสืบค้นหาจากคำสำคัญในเนื้อหารายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยฯ 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
     2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
     2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
         7.5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ7.4
        7.5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ