กลศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจถึงหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการเบื้องต้นของวิชากลศาสตร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
       Study of force systems, resultant, equilibrium, fluid statics, kinematics and kinetics of particles and rigid bodies, Newton’s second law of motion, work and energy, impulse and momentum
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ความมีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ให้ความสำคัญในเรื่องการมีวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

1.2.2 ปลูกฝังเรื่องการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งกฎระเบียบของสังคม
ปลูกฝังเรื่องความชื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1      ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาภายในห้องเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1.3.2      การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
1.3.3      สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่าง
               ต่อเนื่อง
1.3.4      ประเมินจากเนื้อหาของแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน (ให้ความสำคัญกับการลอกการบ้าน) และ
               การทุจริตในการสอบ
มีความรู้ในหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง  ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง  การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง ชิ้นส่วนของเครื่องจักรกล คิเนแมตริกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง   กฎข้อสองของนิวตัน งานและพลังงาน  การดลและโมเมนต์ตัม  
        2.2.1      บรรยาย อภิปราย ยกตัวอย่างประกอบ
        2.2.2      มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
 2.3.1      ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
 2.3.2      ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
สามารถคิด วิเคราะห์ สรุปประเด็นปัญหาในด้านกลศาสตร์อย่างมีวิจารณญาณที่ดี และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถสืบค้นข้อมูล แสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
จัดกิจกรรมการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านกลศาสตร์ที่เป็นชิ้นงานจริง แล้วให้นักศึกษาร่วมกันอภิปราย
ประเมินจากการอภิปราย สรุปประเด็นปัญหา และกระบวนการแก้ไขปัญหา
รู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย สามารถร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง  
มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติม และ ทำรายงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อช่วยในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาทางด้านกลศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตั้งโจทย์ปัญหาที่ต้องการใช้ระเบียบวิธีการคำนวณเชิงตัวเลขในการแก้ปัญหา
ประเมินจากการหาคำตอบโดยวิธีการคำนวณ และวิธีการใช้เครื่องคำนวณหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 ENGCC302 กลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.3, 2.5, 3.3 และ 5.5 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 13 17 5 % 30 % 5 % 30 %
2 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.3, 2.5, 3.3, 4.4, และ 5.3 - การทำงานกลุ่ม - การส่งงานตามที่มอบหมาย - การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.2 - ขานชื่อ - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาภายในห้องเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง - ประเมินจากเนื้อหาของแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน (ให้ความสำคัญกับการลองการบ้าน) และการทุจริตในการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
    1. Engineering Mechanics                                  R.C. HIBBELER
    2. Engineering Mechanics (Statics)                    J.L. MERIAM   L.G. KRAIGE
    3. Engineering Mechanics (Dynamics)               J.L. MERIAM   L.G. KRAIGE
-
-
    -   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    -   แบบประเมินรายวิชา
-   ผลการสอบ
    -   แบบประเมินผู้สอน
-   การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
            -  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-  ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
            -  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ