ปฐพีวิทยาเบื้องต้น

Principles of Soil Science

ภาคบรรยาย
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการกำเนิดดิน
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพดิน
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเคมีดิน
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับชีวภาพของดิน
5. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับธาตุอาหารพืช สภาพแวดล้อมทางเคมีและกายภาพของดิน ที่มีผลต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช
6. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย
7. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการดิน การอนุรักษ์ดินและการปรับปรุงดิน
ภาคปฏิบัติ
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือในห้องปฏิบัติการปฐพีวิทยาได้ รวมทั้งสามารถปฏิบัติการจำแนกวัตถุต้นกำเนิดดิน เก็บตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์ วิเคราะห์เนื้อดินและโครงสร้างดิน วิเคราะห์ความชื้นดิน วัดปฏิกิริยาดิน ตรวจสอบธาตุอาหารในดิน รวมท้งทำการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และวิเคราะห์ปุ๋ยเคมีได้อย่างถูกต้อง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับดิน สภาพแวดล้อม การจัดการและการอนุรกษ์ดินตลอดจนการปรับปรุงดิน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะปฏิบัติในด้านดิน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการจัดการดินและการปรับปรุงดินในสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการกำเนิดดิน สมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน ธาตุอาหารพืช สภาพแวดล้อมทางเคมีและกายภาพของดินที่มีผลต่อความเป้นประดยชน์ของธาตุอาหารพืช ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย การจัดการและการอนุรักษ์ดิน การปรับปรุงดิน
จัดให้นิสิตพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาให้นิสิตทราบ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (1.3)
- มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเื่องคุณะรรมจริยธรรม
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่ร ให้เข้าห้องเรียนตรงต่อเวลาแลัเข้าเรียนอย่างสมำ่เสมอ
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่สัตย์ในการสอบ
- ร้อยละ 80 ของนักศึกษา เข้าเรียรตรงต่อเวลา
- ร้อยละ 80 ของนักศึกาา ปฏิบัติตามเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่มีการฑุจริตในการสอบ
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2.1)
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา (2.2)
โดยนักศึกษาต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การกำเนิดดิน สมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน ธาตุอาหารพืช สภาพแวดล้อมทางเคมีและกายภาพของดินที่มีผลต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย การปรับปรุงดิน รวมทั้งการจัดการและการอนุรักษณ์ดิน รวมทั้งมีความรู้หลักการวิเคราะห์และแก้ปัญหาเกี่ยวกับดินและการใช้ปุ๋ยเบื้อต้ย ตลอดจนสามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ทางดินและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
- การบรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษา การคิด วิเคราะห์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน 
-การฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ การตอบคำถามหลังการปฏิบัติการ และการเฉลยแบบฝึกหัด รวมทั้งการสั่งรายงานสรุปบทปฏิบัติการ
-นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงาน
- ทดสอบโดยข้อเขียน และการประเมทินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป้นระบบ (3.2)
นักศึกษาต้องสามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านดินและการจัดการดินได้ โดยอ้างอิงหลักการและทฤษฎีได้อย่างถุต้องและเหมาะสม รวมทั้งสามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ความรู้ให้สอดคล้องกับสภาพและเทคโนโลยีในปัจจุบันและอนาคต
- ในภาคบรรยายกำหนดหัวข้อให้นักศึกษา ฝึกวิเคราะห์ปัญหา จากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่างๆ รวมทั้งการค้นคว้าจากฐานข้อมูล แล้วนำมาอภิปรายในห้องเรียน
- ส่วนภาคปฏิบัติ กำหนดหัวข้อในการแก้ปัญหาที่กำหนดจากแบบฝึกหัดโดยใช้ความรู้ในการปฏิบัติการมาแก้ปัญหา และนำมาเฉลยในห้องเรียนเพื่อชี้แนะความถูกต้องและเหมาะสม
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
- ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดในชั้นเรียน
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี (4.1)
(2) มีภาวะความเป้นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4.2)
(3) สามารถทำงานเป้นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4.3)
- ให้นักศึกษาทำปฏิบัติการกลุ่มในห้องปฏิบัติการ โดยมีการสลับกันเป็นหัวหน้ากลุ่มในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- ให้นักศึกษาวิเคราะห์โจทย์และกรณีศึกษา รวมทั้งนำเสนอวิธีแก้ปัญหาโดยมอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าการจัดการดินกรดจัด
- ประเมินตนเอง และเพื่อนในชั้นเรียน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป้นกลุ่มหรือโครงงาน
- สังเกตจากพฤติกรรมนักศึกษารายบุคคล
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม (5.1)
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน e-learning และทำรายงาน โดยอ้างอิงจากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากผลงานที่ศึกาาค้นคว้า
- ประเมินจากเทคโนโลยีที่เลือกใช้ในการนำเสนอในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 1 2 1 2 3 1 2
1 BSCAG010 ปฐพีวิทยาเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,4,5 ทดสอบย่อย 3, 6, 10, 14 10
2 2,3 ทดสอบกลางภาค 9 15
3 8 การนำเสนอรายงาน การเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น 12 10
4 6, 7 ทดสอบปลายภาค 17 15
คณาจารย์ ภาควิชาปฐพีวิทยา 2544. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินและพืชเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินเปรี้ยวจัด. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. พืชตระกูลถั่วเพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.
คณะกรรมการจัดทำปทานุกรมปฐพีวิทยา 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปฐพีชล วายุอัคคี. ดินและปุ๋ย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฐานเกษตรกรรม.
สงบ สำองค์ศรี. 2544. การจัดการดินบนพื้นที่ลาดชันลุ่มชุดดินที่ (ก 62) เพื่อปลูกไม้ยืนต้นใน ระบบวนเกษตรเชิงอนุรักษ์ดินและน้ำ. ราชบุรี สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนา ที่ดิน.
สุรสิทธิ์ ซาวคำเขต. 2551. วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำโดยใช้แรงคน : กรณีศูนย์พัฒนาโครงการ หลวงหนองเขียวต. เมืองนะ อ.เชียงใหม่. เชียงใหม่:สานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนา ที่ดิน.
เอิบ เขียวรื่นรมย์ 2542. การสำรวจดิน: มโนทัศน์ หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อำนาจ สุวรรณฤทธิ์. 2551. ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Pons, L.J. and Van Der Kevie. 1996. Acid Sulphate Soils in Thailand. Studies on the morphology, genesis and Agricultural Potential of soils with Cat Clay. Report SSR 81, Soil survey Division, Bangkok 65 P.

Harpstead, M.I., Sauer, Th. J. and Benneth. 2001. Soil Science Simplified. Fourth edition. Ames: Iowa State University Press.W.F.
ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ ชัยฤกษ์ สุวรรณรัตน์ สมชาย กรีฑาภิรมย์ และบุญแสน เตียวนุกูลธรรม. 2542. การวิเคราะห์ N P K ในดินอย่างง่าย. วารสารดินและปุ๋ย 21 : 46-51
Juo and K. Franzluebbers. 2003. Tropical Soils. Properties and Management for Sustainable Agriculture. Oxford : Oxford University Press.
Land Classification. 1973. Soil Interpretation Handbook For Thailand. Department of Land Development, Ministry of Agriculture and Coorperatives, Bangkok, Thailand. 
Washington State University (Tree Fruit Research and Agriculture). Physical Properties of Soil. Updated July 15, 2004.  Available from: http://soils.tfrec.wsu.edu/mg/physical.htm (October, 2, 2009).   
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน    
- การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน  ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้      
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
- ผลการสอบ      
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
 - กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน        ประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้คณะควร        จัดสัมมนาการเรียนการสอนกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน          หรือควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหา แนวทางแก้ไข 
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของ  สาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความ  คิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป