คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี

Mathematics for Accountant

เข้าใจฟังก์ชัน สมการ ลิมิตและความต่อเนื่อง เข้าใจฟังก์ชันกำลังและฟังก์ชันลอกการิทึม คำนวณการหาอนุพันธ์และการอินทิเกรต คำนวณหาค่ามูลค่าปัจจุบันและเงินงวด เข้าใจตรรกศาสตร์การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ของผู้เรียนในด้านการฝึกสมองอันเป็นแนวทางให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาต่างๆได้ด้วยตนเอง
-
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และเมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ประเภทต่างๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ฟังก์ชันกำลังและฟังก์ชันลอกการิทึม การอินทิเกรต มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด รวมทั้งตรรกศาสตร์ การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
    3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง  ศษ 1212   โทร 3200
    3.2  e-mail; viang_moo@hotmail.comเวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การสอนโดยใช้เทคนิคบทบาทสมมติ  
-. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
-. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
- การสังเกต
- การประเมินจากเพื่อน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
-  การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
-  การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
- การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
-  ข้อสอบอัตนัย
-  ข้อสอบปรนัย
- แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-  เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
-  การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
- การประเมินตนเอง
- การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
- การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
- การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
-  การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
- การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
- การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
- งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- การเขียนบันทึก
- การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4
1 BACAC112 คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.คุณธรรมจริยธรรม (1.1,1.3,1.4) 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ (4.1,4.4) การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.ความรู้(2.1) 3.ทักษะทางปัญญา (3.1) การทดสอบย่อย 2 ครั้ง 6,12 20%
3 2.ความรู้(2.1) 3.ทักษะทางปัญญา (3.1) การสอบกลางภาค 9 30%
4 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ(5.2) การนำเสนองาน/การรายงาน 14 10%
5 2.ความรู้(2.1) 3.ทักษะทางปัญญา (3.1) การสอบปลายภาค 17 30%
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี  สาขาวิทยาศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
     -ทศพร จันทร์คง และสิรินาฏ สุนทรารันย์, แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2542
          -ศรีบุตร แววเจริญ และชนศักดิ์  บ่ายเที่ยง, คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์, วงตะวัน จำกัด, กรุงเทพ ฯ, 2540
          -Anton  Howard, Calculus with Analytics Geometry, 7th Edition, John Wiley & Sons, Inc, 2002
          -James Stewart, Single Variable Calculus, 3rd, Brooks\Cole Publishing Company, 1995.
          -E. Kreyszig, Advance Engineering Mathematics, 6th Edition, John Wiley & Sons, Inc, 1988
          -M.R. Spiegle, Advance Calculus, Schaum’s Outline Series, McGraw-Hill Book company, 1963.
-
-  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
-  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
-  ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่องจากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
       - การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
       - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาเช่นตรวจสอบข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์