เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช

Postharvest Technology of Plant

ปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและขอบเขตของเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา ดัชนีและวิธีการเก็บเกี่ยว การควบคุมศัตรูพืช การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว เก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ ตลอดจนวิธีการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิต
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
-สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
- มีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลาที่กำหนด
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนแบบ e-Learning เป็นต้น
- มอบหมายงานให้นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทดสอบโดยข้อเขียนในการการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- การประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความ เป็นไปได้
- ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
- ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜ 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษา ที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
- ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่ง นักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง
- กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ Power Point
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
- ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21011450 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ที่เรียน ยกเว้นสัปดาห์ที่มีการสอบ 10%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค ความร่วมมือในการตอบคำถามที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม 2, 4, 6,8,10 12, 14 9 18 15% 15% 15%
3 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) การทำบทปฏิบัติการและรายงานผล การปฏิบัติงานทดลองรายกลุ่ม (PBL) และรายงานผลการทดลอง 2-14 2-14 25 % 10 %
4 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) การนำเสนอผลงาน/การรายงาน 2-14 5 %
5 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) แบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย และ การนำเสนอผลงาน/การรายงาน 17 5 %
จริงแท้ ศิริพานิช. 2541. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2.
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.396 หน้า.
กรมวิชาการเกษตร.มปป. ความต้องการไม้ผลเมืองร้อนของอเมริกา( ตอนที่2 ).แหล่งที่มา
http //www.doa.go.th( 10 เมษายน 2547 )
กรมส่งเสริมการเกษตร.มปป. ภาชนะบรรจุอาหาร.กลุ่มงานเคหกิจเกษตร กองพัฒนาบริหารงานเกษตร
แหล่งที่มา http //www.doa.go.th/ library ( 15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการเกษตร.2541.การปลูกแอปเปิล.แผ่นพับเผยแพร่ที่78. ฝ่ายส่งเสริมเกษตรที่สูง. แหล่งที่มา
http //www.doae.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546. การจัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตร. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.โครงการพัฒนามะม่วง ฝรั่ง สมุนไพร และเครื่องเทศฉายรังสี. สำนักบริการ
ส่งออก .แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ชาวต่างชาติรับประทานมะม่วงกันอย่างไร. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ตลาดกล้วยของไทยในต่างประเทศ. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ไต้หวันประกาศแก้ไขกฎระเบียบการตรวจกักกันโรคพืชและห้ามการนำเข้า
สินค้าเกษตรจากไทยจำนวน7 ชนิด. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http
//www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.มะขามหวาน. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http
//www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.รายงานผลโครงการความช่วยเหลือผู้เชี่ยวชาญอิสราเอลสินค้าผักและผลไม้สด.
สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.อนาคตของลำไยไทย. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กิตติพงษ์ ห่งรักษ์.2542 .ผักและผลไม้. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.กรุงเทพฯ.311 น.
เกตุอุไร ทองเครือ.2541. การปลูกสับปะรด .กรมส่งเสริมการเกษตร. แหล่งที่มา
http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
จริงแท้ ศิริพานิช และธีรนุช ร่มโพธิ์ภักดิ์.2543. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.โรงพิมพ์ศูนย์
ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

90 น.

จิรา ณ หนองคาย .2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผัก ผลไม้ และดอกไม้.สำนักพิมพ์แมสพับลิชชิง.
กรุงเทพฯ 272 น.
จุไรรัตน์ แสงสวัสดิ์.2541. การปลูกฝรั่ง.กองส่งเสริมพืชสวน กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา
http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
เฉลิมเกียรต โภคาวัฒนา และภัสรา ชวประดิษฐ์.2541. การผลิตข้าวโพดฝักอ่อน.กรมส่งเสริม
การเกษตร.แหล่งที่มา http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
เฉลิมเกียรติ โภคาวัฒนา ภัสรา ชวประดิษฐ์ ปิยรัตน์ เขียนมีสุข และนิยมรัตน์ ไตรศรี.2541.
กระเจี๊ยบเขียว.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http//www.doae.go.th / library (15
มีนาคม 2547 )
ดนัย บุณยเกียรติ. 2540.สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .
เชียงใหม่ .222 น.
ดนัย บุณยเกียรติ. 2543.โรคหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.เชียงใหม่.
156 น.
ดนัย บุณยเกียรติ และนิธิยา รัตนาปนนท์. 2535.การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.สำนักพิมพ์
โอเดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.146 น.
นลินี โหมาศวิน.2546.การส่งออกทุเรียนสดไปตลาดต่างประเทศ. สำนักบริการส่งออก กรมส่งเสริม
การเกษตร.แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
นลินี โหมาศวิน.2546. ผู้นำเข้ามังคุดจากญี่ปุ่นเยือนไทย. สำนักบริการส่งออก กรมส่งเสริมการเกษตร.
แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2537.โภชนศาสตร์เบื้องต้น. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.
นิธิยา รัตนาปนนท์ และดนัย บุณยเกียรติ. 2537.การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้. สำนักพิมพ์โอ
เดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ.2541 .บรรจุภัณฑ์อาหาร.บริษัทโรงพิมพ์หยี่เฮง จำกัด
กรุงเทพฯ.358 น.
พัฒนา นรมาศ.2541.การปลูกมะม่วง.คำแนะนำที่ 43.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http
//www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )
พัฒนา นรมาศ สมคิด โพธิ์พันธ์ และอัญชลี พัดมีเทศ.มปป.ดัชนีการเก็บเกี่ยวมังคุดเพื่อการส่งออก
แผ่นพับเผยแพร่ 201. 43.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th
/library(15 มีนาคม 2547 )
เรณู ดอกไม้หอม. มปป. การป้องกันและกำจัดแมลงวันผลไม้.กองป้องกันและกำจัดศัตรูพืช.กรม
ส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )
วัฒนา สรรยาธิปิติ . 2541.การปลูกมะม่วง.ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.สำนักงาน
ส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th
/library(15 มีนาคม 2547 )
สังคม เตชะวงศ์เสถียร.2536.ดัชนีการเก็บเกี่ยว.เอกสารคำสอนวิชาการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุนีย์ สหัสโพธ์.2543.ชีวเคมีทางโภชนาการ.สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ.
อดิศร กระแสชัย. 2535. เบญจมาศ. โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ กรุงเทพฯ 129 หน้า.
สุวิมล กีรติพิบูลย์.2543.GMP ระบบการจัดการและควบคุมการผลิตอาหารให้ปลอดภัย.สำนักพิมพ์
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น ). กรุงเทพฯ
สุวิมล กีรติพิบูลย์.2544. ระบบประกันคุณภาพด้านความปลอดภัยของอาหาร; HACCP.สำนักพิมพ์
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น ). กรุงเทพฯ
Anon.1991. Control atmosphere (C.A .)& modified atmosphere.(M.A. ). P 77-87.In
Fresh produce manual: handling & storage practices for fresh produce. 2nd
edition. Australia United Fresh Fruit & Vegetable Association Ltd, Victori
Anon.2003.Baby vegetable enjoint boom in France. Eufruit magazine. March:23 –
24. Blacker, K. J.1989.Humidity –Temperture magazine.p25- 61. In Fresh
produce manual:handling & storage practices for fresh produce. 2nd edition.
Australia United Fresh Fruit & Vegetable Association Ltd, Victori
อภิตา บุญศิริ.2545. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวนรุ่นที่14 : เอกสารประกอบการฝึกอบรม. ฝ่าย
ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน. นครปฐม.
อัญชลี พัดมีเทศ. 2541 . การปลูกส้มเขียวหวาน. คำแนะนำที่ 36 .กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา
http //www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )
Rom Plastica snc.No date.Packaging for fruit and vegetable.Availabl
http://www.rom plastica .com (15 April 2004).
ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ และมีระบบการประเมินรายวิชาโดยให้ผู้เรียนประเมินและแสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชาทางระบบอินเตอร์เน็ต
อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ โดยการสังเกต การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร