การบัญชีชั้นสูง 2

Advanced Accounting 2

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การบัญชีสำหรับบริษัทร่วม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยและกิจการร่วมค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การทำงบการเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม การบัญชีเกี่ยวกับการปรับโครงสร่างหนี้ที่มีปัญหาและกิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน และการบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร
 
 
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การบัญชีสำหรับบริษัทร่วม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยและกิจการร่วมค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การทำงบการเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม การบัญชีเกี่ยวกับการปรับโครงสร่างหนี้ที่มีปัญหาและกิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน และการบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร


 
 
1. คำอธิบายรายวิชา
 
ศึกษาแนวคิดศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การบัญชีสำหรับบริษัทร่วม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยและกิจการร่วมค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การทำงบการเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม
 
Study and practice of accounting for business combination, accounting for investment in subsidiaries and associated domestic companies and international companies, accounting for joint ventures, preparing of consolidated financial statements, and consolidated cash flow statement.
 
 
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)

 
 
คุณธรรมจริยธรรม

Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)

บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
2. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2) การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3) การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
ด้านความรู้

Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน

Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)

บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม

 
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่กระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
3. ทักษะทางปัญญา
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
4. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 5. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
6. ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน 7. ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง 8. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)

บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

 
5. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 6. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
ü พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา ü สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)

บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวาง และเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
5. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 6. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ü 1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
3. พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
(ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552)

บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม

 
3. ความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การบัญชีสำหรับบริษัทร่วม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยและกิจการร่วมค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การทำงบการเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม การบัญชีเกี่ยวกับการปรับโครงสร่างหนี้ที่มีปัญหาและกิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน และการบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน 1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 17 2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 16 3 1.1.1 , 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 3. เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง 3.1 มีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน 3.2 ได้คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม 4. เกณฑ์การประเมิน การประเมินผ่านรายวิชา ใช้วิธีอิงเกณฑ์ โดยกำหนดค่าระดับคะแนนร้อยละตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้ ก หรือ A คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+ คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค + หรือ C+ คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+ คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ ง หรือ D คะแนนร้อยละ ต่ำกว่า 50 ได้ จ หรือ F
. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
หนังสือ รายวิชาการบัญชีชั้นสูง 2 เรียบเรียงโดย อาจารย์วันวิภา คำมงคล
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
กัลยา ไพบูลย์. (2557). การบัญชีชั้นสูง 2. สำนักพิมพ์ ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ : กรุงเทพมหานคร.
กุสุมา ดำพิทักษ์. (2553). การบัญชีชั้นสูง 2. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทีพีเอ็นเพรส : กรุงเทพมหานคร.
ดุษฎี สงวนชาติ และคณะ. (2555). การบัญชีชั้นสูง 1. พิมพ์ครั้งที่ 6. บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด :
กรุงเทพมหานคร.
ดุษฎี สงวนชาติ และคณะ. (2559). การบัญชีชั้นสูง 1. พิมพ์ครั้งที่ 8. โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพมหานคร.
ธารินี พงศ์สุพัฒน์. (2546). การบัญชีชั้นสูง 2. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ :
กรุงเทพมหานคร.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ. [ระบบออนไลน์].
แหล่งที่มาhttps://www.bot.or.th/thai/_layouts/application/exchangerate/exchangerate.aspx.
(15 เมษายน 2561).
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2559). ทฤษฎีการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 1. ห้างหุ้นส่วน
จำกัด ทีพีเอ็นเพรส : กรุงเทพมหานคร.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และคณะ. (2559). การบัญชีขั้นสูง 1 และการบัญชีขั้นสูง 2. พิมพ์ครั้งที่ 3.
หน่วยที่ 1 - 8. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : นนทบุรี.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และคณะ. (2559). การบัญชีขั้นสูง 1 และการบัญชีขั้นสูง 2. พิมพ์ครั้งที่ 3.
หน่วยที่ 9 - 15. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : นนทบุรี.
นุชจรี พิเชฐกุล. (2555). การรายงานและการวิเคราะห์งบการเงิน. พิมพ์ครั้งที่ 2. ทีพีเอ็นเพรส : กรุงเทพมหานคร.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2561). กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
(ปรับปรุง 2560). กรุงเทพมหานคร.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2561). “มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ปรับปรุงปี
2560”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.fap.or.th/Article/Detail/67220.
(1 กุมภาพันธ์ 2561)
____________. (2561). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง
“การรวมธุรกิจ”. กรุงเทพมหานคร.
____________. (2561). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง
“งบการเงินรวม”. กรุงเทพมหานคร.
____________. (2561). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง
“การร่วมการงาน”. กรุงเทพมหานคร.
____________. (2561). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง “การนำเสนองบ
การเงิน”. กรุงเทพมหานคร.
____________. (2561). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง “งบกระแสเงินสด”.
กรุงเทพมหานคร.
____________. (2561). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2560)
เรื่อง “ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”.
กรุงเทพมหานคร.
____________. (2561). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง “งบการเงินเฉพาะ
กิจการ”. กรุงเทพมหานคร.
____________. (2561). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2560)
เรื่อง “เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า”. กรุงเทพมหานคร.
สมศักดิ์ ประถมศรีเมฆ. 2558. การรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ไทยฉบับปรับปรุงปี พ.ศ. 2557. พิมพ์ครั้งที่ 1. เอ็นโฟร์ โปรพริ้น : กรุงเทพมหานคร.
สุรชัย เอมอักษร. (2555). การบัญชีชั้นสูง 1. พิมพ์ครั้งที่ 4. บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด :
กรุงเทพมหานคร.
____________. (2555). การบัญชีชั้นสูง 2. พิมพ์ครั้งที่ 2 : บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด :
กรุงเทพมหานคร.
อัจฉราภรณ์ พูลยิ่ง. (2559). การบัญชีชั้นสูง 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. ต้นฉบับการพิมพ์ : น่าน.
-