ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร

Physics 2 for Engineers

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบหลักของแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับ อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ยุคใหม่ โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์ รวมถึงการสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการออกแบบ และแก้ปัญหาโจทย์ต่าง ๆ
2.2 เพื่อเป็นพื้นฐานการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบหลักของแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับ อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ยุคใหม่ โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์ รวมถึงการสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
- เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
- สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
- ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
- ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
- การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
- ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
- ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
- มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ของสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
- สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
- จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงาน และการปฏิบัติการ
- ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรม.........ของผู้เรียน
- สังเกตจากการนำไปประยุกต์ใช้ในการฝึกงาน
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
- มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
- ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
- ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
- มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสรกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
- กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
- ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
- ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
- ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
- ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
- ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
- สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
- ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
- มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
- ประเมินจากผลงานและการนำเสนอรายงาน ด้วยสื่อภาษาต่างประเทศ
- มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC103 ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จากเนื้อหาตลอดหลักสูตร ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1-16 9 17 10% 30% 30%
2 จากเนื้อหาตลอดหลักสูตร วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 จากเนื้อหาตลอดหลักสูตร การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- เอกสารประกอบการสอนฟิสิกส์ และฟิสิกส์สำหรับวิศวกร
-
- ตำราภาษาไทยที่ใช้ชื่อต่อไปนี้ ฟิสิกส์
- เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
- เอกสาร e-learning
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ