คณิตศาสตร์และสถิติกับชีวิตประจำวัน

Mathematics and Statistics in Daily Life

1.1  เพื่อให้นำคณิตศาสตร์พื้นฐานไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1.2  เพื่อให้มีทักษะการคิดและคำนวณทางคณิตศาสตร์
1.3  เพื่อให้มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมาย
1.4  เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์
นักศึกษามีความรู้ทางคณิตศาสตร์เพียงพอและเป็นปัจจุบัน เพื่อที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ ตลอดจนฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ  มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ระบบเลขฐาน  ตรรกศาสตร์  คณิตศาสตร์การเงิน  ระเบียบและวิธีการดำเนินการทางสถิติ  การวิเคราะห์สถิติพรรณนา  ความน่าจะเป็น  สถิติในชีวิตประจำวัน และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับชีวิตประจำวัน
 
Base System, Logic, Financial Mathematics, Statistical Method, Descriptive Statistics, Probability, Computer Program for Daily Use
นักศึกษาสามารถขอคำปรึกษา ได้ 2 ช่องทาง คือ

เข้ามาพบที่กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ ในวันพุธ  เวลา 15.00 – 17.00 น. ห้อง ศท.304 ช่องทาง online (Line  Facebook)
1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  ให้ความสำคัญในวินัย  การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2  สอดแทรกการมีจิตสำนึกสาธารณะระหว่างการเรียนการสอน เช่น การรักษาความสะอาดห้องเรียน
1.2.3  ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม  และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.4  ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและนักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบต่างๆ ในชั้นเรียน
1.3.1  ให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และคะแนนความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเลขฐาน ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์การเงิน ระเบียบและวิธีการดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์สถิติพรรณนา ความน่าจะเป็น สถิติในชีวิตประจำวัน และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับชีวิตประจำวัน
2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1  ใช้การสอนหลายรูป เช่น แบบบรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน กรณีศึกษา 
2.2.2  ให้นักศึกษาสืบค้นตัวอย่างการนำความรู้ในวิชาไปใช้ในชีวิตประจำวัน  ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
2.2.3  วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
2.3.1  การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค
2.3.2  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
2.3.3  พิจารณาให้คะแนนจากการนำเสนองาน
3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1  บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน การสอนแบบตั้งคำถาม  การสอนแบบกรณีศึกษา
3.2.2  ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
3.3.1  การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค
3.3.2  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
3.3.3  พิจารณาให้คะแนนจากการนำเสนองาน
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1  มอบหมายงานเป็นกลุ่ม  โดยให้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำ  และผู้นำเสนอ
4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.2.3  ส่งเสริมการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
4.3.1  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
4.3.2  พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
4.3.3  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม
5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2  กำหนดให้นักศึกษานำเสนองาน  โดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
5.3.1  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
5.3.2  พิจารณาให้คะแนนจากการนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.3  มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 22000002 คณิตศาสตร์และสถิติกับชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - มารยาทและทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - พฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเลขฐาน ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์การเงิน ระเบียบและวิธีการดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์สถิติพรรณนา ความน่าจะเป็น สถิติในชีวิตประจำวัน และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับชีวิตประจำวัน 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ การทดสอบ - การทดสอบย่อย - สอบกลางภาคเรียน - สอบปลายภาคเรียน สอบย่อย ระหว่างภาคเรียนจำนวน 3 ครั้ง สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 สอบย่อย 30% สอบกลางภาค 25% สอบปลายภาค 25%
3 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ความรับผิดชอบในการเรียน - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานที่มอบหมาย - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
4 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานที่ได้รับมอบหมาย - การค้นคว้าและการแก้ปัญหา - รายงาน - การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 10%
กลุ่มคณิตศาสตร์.  2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน  แผนกวิชาคณิตศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่
กมล  เอกไทยเจริญ.  คณิตศาสตร์ ม.6 . กทม.  ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จำกัด . 2521
กัลยา  วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ กทม. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539
ผ่องศรี   คุ้มจอหอ, พัศนีย์  พันตา และลำดวน  ยอดยิ่ง . สถิติธุรกิจ . กทม. สำนักพิมพ์เอมพันธ์. 2540
ศิริลักษณ์  สุวรรณวงศ์. หลักสถิติเบื้องต้น.  กทม.  สุวีริยาสาส์น ,2539
เอกสาร / ตำรา / หนังสือ / แหล่งออนไลน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถิติ  ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
1.1  นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนออนไลน์  ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
1.2  ให้นักศึกษาทำแบบสอบถาม  เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในภาคเรียน
2.1  ประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนร่วมในรายวิชา
2.2  ประเมินผลการเรียนการสอนโดยหัวหน้ากลุ่มวิชาคณิตศาสตร์
3.1  นำผลการประเมินของนักศึกษาและผลจากแบบสอบถามจากนักศึกษามาทบทวน  และปรับปรุงการเรียนการสอน
3.2  นำผลการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน
3.3  ทำวิจัยในชั้นเรียน
4.1  บันทึกหลังการสอนรายคาบ
4.2  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3  แจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4  ใช้ข้อสอบร่วม
5.1  บันทึกหลังการสอนรายคาบ
5.2  ประชุมผู้สอนร่วม
5.3  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม