ธุรกิจการบิน

Airline Business

1.1 เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน ภูมิศาสตร์การบิน กฎและระเบียบการจราจรทางอากาศ ตารางเวลากำหนดการบิน ชนิดของเครื่องบินและประสิทธิภาพการบิน
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับงานบริการภาคพื้นดินและบนเครื่องบิน ระบบ การจอง การออกบัตรโดยสารและการคิดคำนวณค่าโดยสาร ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสำรองที่นั่ง สายการบิน การจัดทำเอกสาร
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระเบียบพิธีการเข้า-ออกระหว่างประเทศ การขนส่งและ พัสดุภัณฑ์ทางอากาศ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในธุรกิจการบินรวมทั้งการออกบัตรโดยสารซึ่งมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและเป็นธุรกิจที่มีความเจริญเติบโตอย่างยิ่งในปัจจุบัน และให้มีความรู้ต่อธุรกิจการบินที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน ภูมิศาสตร์การบิน กฎและระเบียบการจราจรทางอากาศ ตารางเวลากำหนดการบิน ชนิดของเครื่องบินและประสิทธิภาพการบิน งานบริการภาคพื้นดินและบนเครื่องบิน ระบบการจอง การออกบัตรโดยสารและการคิดคำนวณค่าโดยสาร ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสำรองที่นั่งสายการบิน การจัดทำเอกสาร และระเบียบพิธีการเข้า-ออกระหว่างประเทศ การขนส่งและพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ และศึกษาดูงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
2. การสอบข้อเขียน
3. การเขียนรายงาน
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ
2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ 1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1 BOATH109 ธุรกิจการบิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,4.1 -สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน -สังเกตพฤติกรรมในการเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1 -ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค -ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน 9,17 ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 2.1, 3.1, 4.1,5.1,6.1 -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน -ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน -ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน -ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 40%
Budd, L., & Ison, S. (Eds.). (2016). Air Transport Management: An International Perspective. Taylor & Francis.  
พรนพ พุกกะพันธุ์. (2548). ธุรกิจการบิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นระ คมนามูล. (2551). เทคโนโลยีการบินและกิจการท่าอากาศยาน. กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือแพร่วิทยาการเพื่อการพัฒนาประเทศ.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). อุตสาหกรรมการบินและการจัดจำหน่ายตั๋วโดยสาร. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซด์
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2551). ธุรกิจการบิน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทของบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยต่างๆในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินและการออกตั๋วโดยสารตลอดจนรายงานการวิจัยต่างๆ และรายงานประจำปีขององค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วารสารวิชาการ วารสารด้านการวิจัย  นิตยสาร รายงานการดำเนินงานประจำปีขององค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง ที่นักศึกษาสามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลได้ด้วยตนเอง
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้          · วันแรกของการเรียนอาจารย์ผู้สอนอธิบายทำความเข้าใจรายวิชากระบวนการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินในรายวิชา · ความตรงต่อเวลา · การแต่งกาย บุคลิกภาพ · คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม · การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน · ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ · แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน · จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา · การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้ · ความรู้ความสามารถโดยรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ · ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2.2 อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการสอนตนเอง ดูจากการส่งงานของนักศึกษา การขอพบที่ปรึกษาในรายวิชา ทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหาและอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการ มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้
3.1 การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
3.2 ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป
3.3 อาจารย์ผู้สอนเพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา

ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา คือ การทวนสอบโดยวิธีการสอบย่อย
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เชิญอาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากรภายนอกเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในธุรกิจการบินได้