การตัดสินใจทางธุรกิจเชิงปริมาณ

Quantitative Decision Making in Business

1.1  เพื่อให้เข้าใจเทคนิคการสร้างรูปแบบทางคณิตศาสตร์ 
          1.2  เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจทฤษฎีการตัดสินใจ รวมทั้งหลักการและวิธีการคำนวณต่างๆ
          1.3  เพื่อให้เข้าใจข้อจำกัดและรูปแบบปัญหาที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
          1.4  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และประเมินผลโครงการต่างๆ ทางธุรกิจ
      1.5  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
1.1  เพื่อให้เข้าใจเทคนิคการสร้างรูปแบบทางคณิตศาสตร์ 
          1.2  เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจทฤษฎีการตัดสินใจ รวมทั้งหลักการและวิธีการคำนวณต่างๆ
          1.3  เพื่อให้เข้าใจข้อจำกัดและรูปแบบปัญหาที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
          1.4  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และประเมินผลโครงการต่างๆ ทางธุรกิจ
         1.5  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
1.1  เพื่อให้เข้าใจเทคนิคการสร้างรูปแบบทางคณิตศาสตร์ 
          1.2  เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจทฤษฎีการตัดสินใจ รวมทั้งหลักการและวิธีการคำนวณต่างๆ
          1.3  เพื่อให้เข้าใจข้อจำกัดและรูปแบบปัญหาที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
          1.4  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และประเมินผลโครงการต่างๆ ทางธุรกิจ
      1.5  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
1.1  เพื่อให้เข้าใจเทคนิคการสร้างรูปแบบทางคณิตศาสตร์ 
          1.2  เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจทฤษฎีการตัดสินใจ รวมทั้งหลักการและวิธีการคำนวณต่างๆ
          1.3  เพื่อให้เข้าใจข้อจำกัดและรูปแบบปัญหาที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
          1.4  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และประเมินผลโครงการต่างๆ ทางธุรกิจ
         1.5  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
1.1  เพื่อให้เข้าใจเทคนิคการสร้างรูปแบบทางคณิตศาสตร์ 
          1.2  เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจทฤษฎีการตัดสินใจ รวมทั้งหลักการและวิธีการคำนวณต่างๆ
          1.3  เพื่อให้เข้าใจข้อจำกัดและรูปแบบปัญหาที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
          1.4  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และประเมินผลโครงการต่างๆ ทางธุรกิจ
         1.5  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
1.1  เพื่อให้เข้าใจเทคนิคการสร้างรูปแบบทางคณิตศาสตร์ 
          1.2  เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจทฤษฎีการตัดสินใจ รวมทั้งหลักการและวิธีการคำนวณต่างๆ
          1.3  เพื่อให้เข้าใจข้อจำกัดและรูปแบบปัญหาที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
          1.4  เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และประเมินผลโครงการต่างๆ ทางธุรกิจ
         1.5  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในการจัดการเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรการจัดการ และเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมแห่งการเรียนรู้
 
ศึกษาการดำเนินงานทางธุรกิจ เพื่อวางแผนและควบคุมการบริหาร การจัดการให้มีประสิทธิภาพโดยเน้นการใช้เทคนิคเชิงปริมาณต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ การประยุกต์ตัวแบบในการแก้ปัญหาทางธุรกิจ การพยากรณ์ ตัวแบบการขนส่ง ตัวแบบการมอบหมายงาน โปรแกรมเชิงเส้นตรง ทฤษฎีตัวแบบตัดสินใจ ตัวแบบเครือข่ายรวมถึงการนำทฤษฎีและเทคนิคเชิงปริมาณต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และสถานการณ์ขององค์การ
          To study the business operation in order to plan and control the management efficiently by using various quantitative techniques to support in decision making. This course includes the application of models to solve the business problems; forecasting, model of transportation, model of assignment, linear programming, decision theory, and model of the networks. As well as using the theories and quantitative techniques to appropriately apply to the purpose and circumstances of the organization.
 
2 ชั่วโมง
(1) นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งทำประโยชน์ให้กับส่วนรวม
(2) นำความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาไปสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการจัดการความรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(3) มีคุณธรรม จริยธรรมในการแสวงหาและถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น ตลอดจนใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้ในทางที่เหมาะสม
(4) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลาและมีวินัยในการเรียน
บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
     (1) บันทึกพฤติกรรมการเข้าเรียน
     (2) สังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่มและการนำเสนอ โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็น
 
(1) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ได้แก่ ความหมาย ประเภท คุณลักษณะ ความสำคัญ ประโยชน์และวิวัฒนาการของการจัดการความรู้
(2) แนวคิด ทฤษฎี รูปแบบ และกระบวนการจัดการความรู้ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้และองค์การแห่งการเรียนรู้
(3) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้ กลยุทธ์การจัดการองค์ความรู้ และการจัดการความรู้ในองค์กรธุรกิจ
(4) บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการจัดการความรู้และทรัพยากรมนุษย์ ระบบการจัดการความรู้ และการประเมินประสิทธิภาพของระบบจัดการความรู้
(5) การจัดการความรู้ในภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ  
(1) การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้ และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาตนเองและองค์กร             
 (2) ศึกษาการเรียนรู้จากกรณีศึกษา เว็บไซต์ของหน่วยงาน คลิปวิดีโอตัวอย่างการจัดการความรู้ขององค์กรเอกชนและภาครัฐ โดยให้นักศึกษาจัดทำรายงานพร้อมนำเสนอ
(1) สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น การนำเสนองาน การอภิปราย แสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม
(2) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน             
(3) การสอบย่อยและการสอบปลายภาค
(1) สามารถสืบค้นข้อมูล หลักฐานจากแหล่งอ้างอิงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องการศึกษา และสามารถนำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ
(2) สามารถประยุกต์ความรู้ด้านการจัดการความรู้และด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
(1) การสอนแบบการบรรยาย อภิปรายกลุ่ม
(2) การสอนโดยใช้กรณีศึกษา และแบบฝึกหัด 
(1) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการจัดการความรู้ของหน่วยงานต่างๆ โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(2) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
(3) การสอบปลายภาค
(1) มีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
(2) ปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแสดงความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
(3) มีการแสดงความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาการทำงานเกิดประสิทธิภาพ
(4) มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทำงานที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด
จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้เกิดการประสานงานและการให้ความร่วมมือกัน ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
       
(1) การรายงานหน้าชั้นเรียน
(2) การประเมินตนเองและประเมินเพื่อนในกลุ่ม
(3) สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างที่ทำงานร่วมกัน
 (1) ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
 (2) ทักษะในการวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า
 (3) ทักษะการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
(4) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(1) มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
(2) กำหนดให้มีการนำเสนอผลงานเชิงวิเคราะห์จากกรณีศึกษาหรืองานที่มอบหมาย ทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
1) ความถูกต้องและเหมาะสมของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
(2) การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอที่เหมาะสม
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการวัดผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
สามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-4.2 5.1-8.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8,17 35% 35%
2 3.4, 4.1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 5.2,5.3 งานที่ได้รับมอบหมายและการเก็บคะแนน 4,6,10,12 20%
กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุปัญญา  ชัยชาญ. (2556). การวิเคราะห์เชิงปริมาณฉบับสมบูรณ์. กรุงเพฯ: ธีระฟิล์ม.
นภดล  ร่มโพธิ์. (2555). การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
งานวิจัยจากสถานศึกษา สถาบันวิจัย ศูนย์วิจัยต่างๆ
ข้อมูลทางธุรกิจและทางการตลาด จากภาครัฐและเอกชน สื่อสิ่งพิมพ์ทางธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
วารสาร นิตยสาร บทความเชิงวิเคราะห์หรืองานวิจัยทางธุรกิจ
 
-การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
 
 
-แบบฝึกหัด
-รายงานการค้นคว่าต่างๆ ที่มอบหมาย
-การนำเสนอผลงานและการถาม-ตอบของนศ.
-ผลการสอบกลางภาค/ปลายภาคของนศ.
-จัดประชุมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
-จัดทำวิจัยในชั้นเรียน