ประติมากรรมสิ่งแวดล้อม

Environmental Sculpture

.1 รู้ประวัติความเป็นมาของประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆ
2. รู้แบบอย่างคุณลักษณะสำคัญที่ใช้ศึกษาประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในรูปแบบ,จุดมุ่งหมาย,ขั้นตอน,ลำดับวิธีการศึกษาประติมากรรมสิ่งแวดล้อม
3. เข้าใจกระบวนการค้นคว้าหาข้อมูลคัดเลือกสถานที่,การสำรวจตรวจวัดจดบันทึกข้อมูลและสร้างความคิดรวบยอดสำหรับกำหนดรูปแบบประติมากรรมสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในการศึกษา
.4ฝึกปฏิบัติการค้นคว้าทดลองสร้างสรรค์ผลงานด้านประติมากรรมด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ที่เหมาะสมอย่างมีความสัมพันธ์กันด้วยรูปทรงและเนื้อหาทางประติมากรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมได้
.5 สามารถเรียบเรียงและการถ่ายทอดนำเสนอเนื้อหาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาประติมากรรมสิ่งแวดล้อมอย่างมีเป็นรูปเล่มรายงานสรุปผลการศึกษาได้
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชาประติมากรรมสิ่งแวดล้อม สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปะบัณฑิตสาขาวิชาทัศนศิลป์ ประติมากรรม ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการศึกษาเกี่ยวกับหลักการทางทัศนศิลป์ที่มีส่วนร่วมกันกับภูมิประเทศ,สังคม,ชุมชนและสิ่งแวดล้อมในภูมิทัศน์ต่างๆศึกษาข้อมูลปัญหาต่างๆที่เกี่ยวข้องนำมากำหนดการสร้าง สรรค์แนวคิดประติมากรรมสิ่งแวดล้อม ด้วยรูปแบบผลงานด้วยเทคนิควิธีการต่างๆที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กันของรูปทรงและเนื้อหาประติมากรรม ที่ใช้แก้ไขปรับปรุงหรือนำเสนอแนวทางการใช้ประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในด้วยองค์ประกอบทางทัศนศิลป์ประติมากรรม อย่างมีระบบและสามารถเรียบเรียงถ่ายทอดข้อมูลกระบวนการสร้างสรรค์ในรายงานสรุปได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการค้นคว้าทดลองสร้างสรรค์ผลงานด้านประติมากรรมด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ที่เหมาะสม มีความสัมพันธ์กันของรูปทรงและเนื้อหาประติมากรรมกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม ส่งเสริมให้สภาพแวดล้อมดีขึ้น เน้นการกำหนดแนวคิดการแก้ไขปัญหาทางกระบวนการสร้างสรรค์ที่มีต่อสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน
Study and practist of creating of environmental sculpture. Various techniques are applied appropriately in order to create a harmonious relationship between shapes, concepts and the environment. With emphasis on promoting a better environment and on finding solutions to the problems in the creation process, focusing on both outer and inner environments.
 
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการศึกษาเพื่อสร้างเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์ทางศิลปะอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ทั้งตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่ได้จากการสร้างสรรค์ศิลปะต่อบุคคล องค์กรและสังคมเพื่อนำมาเป็นแนวทางในการแก้ไขและพัฒนา มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 
1.2.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.2.2  ศึกษา และอ้างอิงข้อมูลที่ได้นำมาเป็นแนวทางการสร้างสรรค์ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม  1.2.3  ประเมินผลการศึกษาจากผลงานการสร้างสรรค์  พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลงานเป็นกรณีศึกษา  1.2.4   ประเมินผลจากการนำเสนอผลงานที่มอบหมาย
 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.3.2   ประเมินผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้สมบูรณ์ อย่างถูกต้องและเหมาะสม  1.3.3   ประเมินผลการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานมาวิเคราะห์เป็นกรณีศึกษา  1.3.4   ประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่มที่สำเร็จและนำเสนอเป็นรายงานตามที่มอบหมาย
มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการทางประติมากรรมสิ่งแวดล้อมโดยศึกษาจาก  รูปแบบสังคมวัฒนธรรม ผลงานศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมร่วมสมัยต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการศึกษาในหลักวิธีการคิดวิเคราะห์ทั้งในเชิงองค์ประกอบทางศิลปะ กระบวนการสร้างสรรค์ ที่มาของแรงบันดาลใจ แนวความคิด เนื้อหา สาระ สื่อวัสดุ กลวิธีการในการแสดงออกของประติมากรรมต่อสภาพสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่มีส่วนเกียวข้องกับชุมชน วัฒนธรรม ความเชื่อและปรัชญา ในรูปแบบงานประติมากรรมกรรมร่วมสมัย รวมทั้งนักศึกษาได้ฝึกฝนการปฏิบัติงานเพื่อนำความรู้ภาคทฤษฎีไป ประยุกต์ ทดลอง พัฒนาแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่มีเอกลักษณ์ของตนที่ฝึกฝนการปฏิบัติงานในลักษณะการสร้างแบบจำลอง จนเกิดทักษะที่สามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลงานของตนต่อไปได้
2.2.1   ทดสอบบรรยายประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับหลักการประติมากรรมสิ่งแวดล้อม โดยการใช้ทฤษฏีต่างๆในการศึกษาพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมอันส่งเสริมปรับปรุงสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น การศึกษาแนวทางการสร้างสรรค์ผลประติมากรรมและสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียง เป็นต้น  2.2.2   สอนทักษะวิธีการในการปรับปรุงภูมิทรรศน์ การสำรวจ เทคโนโลยีสำรวจ ความเข้าใจในเรื่องแรงบันดาลใจ อิทธิพลของการสร้างสรรค์ของรูปแบบผลงานศิลปกรรมอันมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่างๆ รวมถึงทฤษฏีทางศิลปะเพื่อให้เข้าใจสุนทรียภาพความงามของศิลปะและการใช้สอยพื้นที่สาธารณะ  2.2.3 กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าเพื่อตั้งสมมติฐานในการสร้างสรรค์ประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆ เช่น อนุสาวรีย์, อนุสรสถาน,สวนสาธารณะ ฯลฯ เพื่อให้เข้าใจหลักทฤษฏีของการสร้างสรรค์และการนำเสนอแนวความคิด เนื้อหาเรื่องราว รูปแบบวิธีการสร้างสรรค์ พร้อมวิเคราะห์ประเด็นต่างๆให้มีความกระชับสมบูรณ์ เพื่อทำความเข้าใจหลักการสร้างสรรค์ ประติมากรรมสิ่งแวดล้อม
2.3.1   ทดสอบย่อยตลอดภาคการศึกษา ด้วยหัวข้อการปฏิบัติงานที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีปฏิบัติ  2.3.2   ประเมินสรุปปลายภาค จากการนำเสนอโครงการการสร้างสรรค์ประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆ เช่น อนุสาวรีย์, อนุสรสถาน,สวนสาธารณะ ฯลฯ เพื่อให้เข้าใจหลักทฤษฏีของการสร้างสรรค์และการนำเสนอแนวความคิด เนื้อหาเรื่องราว รูปแบบวิธีการสร้างสรรค์ พร้อมวิเคราะห์ประเด็นต่างๆให้มีความกระชับสมบูรณ์ เพื่อทำความเข้าใจหลักการสร้างสรรค์ ประติมากรรมสิ่งแวดล้อม นำเสนอในรูปแบบผลงาน,แบบจำลองที่เสร็จสมบูรณ์พร้อมเล่มรายงานสรุป
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบสามารถเรียนรู้และวางแผนในการปฏิบัติการค้นคว้าหาข้อมูลของพื้นที่ขยายงานได้ สำรวจสถานที่จริงรวบรวมนำมาสร้างเป็นผลงานจากการปฏิบัติการสร้างสรรค์   สรุปข้อมูลพร้อมการนำเสนอโครงการด้้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเสวนากับเพื่อนนักศึกษาและอาจารย์ประจำวิชา เพื่อให้เกิดการแสดงออกทางความคิด การแลกเปลี่ยนมุมมองและทัศนะในทางการสร้างสรรค์ เพื่อให้มีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาประติมากรรมสิ่งแวดล้อมแบบต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
3.2.1   มอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานส่วนตน โดยฝึกให้วิเคราะห์สถานที่อันเป็นประเด็นที่ใช้ในการศึกษา   สำรวจ หาข้อมูล ที่ตั้ง ความเป็นมา ประวัติและแก้ไขปัญหาทางด้านการมอง จากภูมิทรรศสถานที่จริงและทางอากาศ  หาประเด็นการสร้างสรรค์ต่างๆที่นักศึกษาสนใจพร้อมถ่ายข้อมูล บันทึกข้อมูล   นำมาวิเคราะห์ในขั้นต้น  ก่อนจะให้ปรับเข้าสู่หลักการวิเคราะห์ทางทฤษฏีทางศิลปะเพื่อใช้ในการสร้างผลงานประติมากรรม   กำหนดเป็นกรณีศึกษา  3.2.2   มอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานส่วนตน โดยฝึกให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาทางภูมิทรรศจากสถานที่ศึกษา  เริ่มออกกแบบงานจากรูปแบบการค้นคว้าหาแรงบันดาลใจของนักศึกษา  จากข้อมูลรูปผลงาน, บันทึกข้อมูล นำมาออกแบบร่าง และแบบจำลอง  ก่อนขยายงานจริง  3.2.3   ศึกษาจากกระบวนการสร้างสรรค์จากผลงานประติมากรรม และผลงานแบบจำลองสถานที่ในหัวข้อการสร้างสรรค์ประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆ เช่น อนุสาวรีย์, อนุสรสถาน,สวนสาธารณะ ฯลฯที่กำหนดให้ จนสำเร็จสมบูรณ์ 3.2.4   ฝึกการนำเสนอโครงการวิเคราะห์เชิงเสวนาที่กระชับสมบูรณ์กับเพื่อนนักศึกษาและอาจารย์ประจำวิชาเพื่อให้เกิดการแสดงออกทางความคิด การแลกเปลี่ยนมุมมองและทัศนะในทางการสร้างสรรค์ของศิลปิน     เพื่อให้มีการวิเคราะห์ทบทวนเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสร้างสรรค์ประติมากรรมสิ่งแวดล้อมอย่างใหม่ๆ  เพื่อเป็นประโยชน์แก่การพัฒนางานต่อไป
3.3.1   มีการจัดแบบทดสอบย่อยกลางภาค ด้วยหัวข้อจากกแบบเรียนทฤษฏีประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆ 3.3.2   ประเมินด้วยการปฏิบัติงานสร้างสรรค์เฉพาะตนในประเด็นประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆที่นักศึกษาสนใจค้นคว้าและได้สำรวจในพื้นที่จริง นำมาเป็นประเด็นสร้างสรรค์และคิดวิเคราะห์โดยเน้นการวัดจากหลักการและทฤษฏีปฏิบัติ จนเป็นชิ้นงานที่สำเร็จสมบูรณ์ 3.3.3   ประเมินสรุปปลายภาค ด้วยการนำเสนอเป็นโครงการที่ได้ไปลงพื้นที่ปฏิบัติการ์และถ่ายทอดมาเป็นผลงานจริงมานำเสนอเชิงเสวนาร่วมกับเพื่อนนักศึกษาและอาจารย์ประจำวิชา พร้อมส่งรายงานสรุปผล 3.3.4   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำเสนอและผู้รับฟังที่ดี สามารถโต้ตอบ ถกถามอภิปรายได้อย่างผู้ที่มีความรู้ 4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
 
4.2.1   มอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานส่วนตน โดยฝึกให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาทางด้านประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในสถานที่จริง จากผลงานการค้นคว้า ลงพื้นที่สำรวจ นำมาเป็นประเด็นการสร้างสรรค์ของนักศึกษาอย่างเป็นระบบ  4.2.2   มอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานส่วนตนในการฝึกการเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละประเด็นการศึกษาด้วยการนำเสนอและมีเสวนาทางวิชาการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันกับเพื่อนนักศึกษาและอาจารย์ประจำวิชา เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา ฝึกฝนการวิเคราะห์และเข้าใจร่วมกัน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยผลงานที่กำหนด  4.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงานช่วงระหว่างเวลาเรียน 4.3.3   ประเมินจากการนำเสนอผลงานการศึกษาด้วยตนเอง และการแลกเปลี่ยนทัศนคติภายในห้องเรียน
 
5.1.1   พัฒนาทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูลประติมากรรมสิ่งแวดล้อมต่างๆจากกรณีศึกษา  5.1.2   พัฒนาทักษะในคัดเลื่อกสถานที่ใช้เป็นประเด็นทางการศึกษา เพื่อใช้การสร้างสรรค์ จากข้อมูลสถานที่ในลักษณะต่างๆ  และการสำรวจจากภาพถ่ายทางอากาศ 5.1.3   พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  5.1.4   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.2.1  มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติงานส่วนตน โดยกำหนดหัวข้อทางการสร้างสรรค์ประติมากรรมสิ่งแวดล้อม โดยให้กำหนดรูปแบบที่ผู้ศึกษาได้ค้นคว้ามาข้อมูลมายื่นเสนอ 5.2.2  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ที่มีข้อมูลทางศิลปะ วัฒนธรรม ความเชื่อจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.3  มอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานส่วนตน โดยฝึกให้ศึกษาข้อมูลทั้งในการค้นคว้าเชิงวิชาการและลงสำรวจสถานที่จริง ก่อนการนำมาวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อใช้ถ่ายทอดผลงาน 5.2.4  เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอผลงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินผลด้วยการดูแนวทางการเสนอคัดเลือกสถานที่ที่ผู้ศึกษาใช้ในการกำหนดแนวทางสร้างสรรค์ 5.3.2   ประเมินจากปฏิบัติงานภายในห้องเรียนและภายนอกห้องเรียน พฤติกรรมการทำงานร่วมกัน  5.3.3   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ที่เหมาะสม
6.1.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี การค้นคว้า คัดเลือกสถานที่ที่ใช้การสร้างสรรค์ได้อย่างเหมาะสมและมีประเด็นน่าสนใจ 6.1.2 มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับรูปแบบวิธี ในการสร้างสรรค์ในการทำแบบร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัด  6.1.3 สามารถสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม และขยายชิ้นงานได้อย่างถูกต้องตามสัดส่วน มาตราส่วนที่ใช้ขยาย 6.1.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีมุมมองวิธีคิดที่ สวยงามปลอดภัยและสมารถนำไปใช้ประโยช์จริงได้  6.1.5 มีทักษะในการนำเสนอผลการสร้างสรรค์ได้อย่างซื่อตรงชัดเจน
แนะนำวิธีการศึกษาค้นคว้า วิธีการสำรวจตรวจสอบสถานที่ในประด็นต่างๆ  การคำนวนวิเคราะห์ขนาดและลักษณะเด่นและปัญหาของสถานที่ สามารถวิเคราะห์กระบวนการคิด การออกแบบ  การใช้สอย ปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาในเชิงการสร้างสรรค์ผลงาน
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA149 ประติมากรรมสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 2-8 9 10-11 12-14 15 17 -ทดสอบย่อย หน่วยที่ 1 ประวัติความเป็นมาของประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่างๆและแนวทางในการเรียน -ทดสอบย่อย หน่วยที่ 2 แบบอย่างคุณลักษณะสำคัญที่ใช้ศึกษาประติมากรรมสิ่งแวดล้อมในทางรูปแบบ,จุดมุ่งหมาย,ขั้นตอน,ลำดับ วิธีการศึกษาประติมากรรมสิ่งแวดล้อม -สอบกลางภาค -ทดสอบย่อย หน่วยที่ 3กระบวนการค้นคว้าหาข้อมูลคัดเลือกสถานที่ การสำรวจตรวจวัดจดบันทึกข้อมูลและสร้างความคิดรวบยอดสำหรับกำหนดรูปแบบประติมากรรม -ทดสอบย่อย หน่วยที่4 ฝึกปฏิบัติการค้นคว้าทดลองสร้างสรรค์ผลงานด้านประติมากรรมด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ที่เหมาะสมอย่างมีความสัมพันธ์กันด้วยรูปทรงและเนื้อหาทางประติมากรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมได้ -ทดสอบย่อยหน่วยที่ 5 สามารถเรียบเรียงและการถ่ายทอดนำเสนอเนื้อหาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาประติมากรรมสิ่งแวด ล้อมอย่างมีเป็นรูปเล่มรายงานสรุปผลการศึกษาได้ -สอบปลายภาค 1 2-8 9 10-11 12-14 15 5.7% 39.9% 9% 11.4% 17.1% 5.7% 9%
2 1-15 1-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 2%
ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณและคณะ, 2557.เมืองเชียงใหม่ ศิลปะ สถาปัตยกรรมและความเชื่อ.พิมพ์ครั้งที่ 1 เชียงใหม่ : ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ชัยพล กีรติกสิกร., 2561. การศึกษาสภาพแวดล้อมเมืองด้วยข้อมูลภาพถ่ายทางดาวเทียม.พิมพ์ครั้งที่ 1 ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา พินดา สิทธิสุนทร, ไซมอน การ์ดเนอร์ และดีน สมาร์ท, 2549.ถ้ำถิ่นเหนือ.พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ กรุงเทพฯ : ริเวอร์บุ๊ค สุธี คุณาวิชยานนท์, 2556. จากสยามเก่า สู่ไทยใหม่ [Texte imprimé] : ว่าด้วยความพลิกผันของศิลปะจากประเพณีสู่สมัย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บ้านหัวแหลม. อภิรดี เกษมศุข และคณะ, 2561. ไม่ธรรมดา สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในวิถีร่วมสมัย. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม อริยา อรุณินท์, 2559.การออกแบบและเทคโนโลยีการก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรม.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.(ภายใต้โครงการอัญมณีแห่งจุฬาฯ เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี) Andy Goldsworthy., 1996. Wood. New York ; Abrams Publisher. Anna Moszynska 2013. Sculpture Now. Published by Thames Hudson Ltd.,Publisher. London Ariya Aruninta, 2016. Landscape apchitectural design and construction technology. Published: Oxford, UK : Alpha Sci, Co-publishing : Chulalongkorn University Press Donald Kuspit, 2014. David Black : Urban Sculpture as Proto-Architecture. First published in New York : Design Media Publishing Ltd. Doreen Ehrlich, 2014. Henry Moore. London .Published ; Bison Book Ltd., Eleanor Heartney., 2009. City Art: New York's Percent For Art Program. New York ; Merrell Publishers. George M. Beylerian and Andrew Dent, 2005. Material Connection: The Global Resource of New and Innovative Materials for Aristech, Artists and Designers. First published in the United Kingdom; Thames & Hudson,Ltd. Irene Korn, 1997. AUGUSTE RODIN Master of Sculpture. New York: Todtri Productions Limited. Krauss, Rosalind E., 1986. Beverly Pepper: Sculpture in Place. New York ; Abbeville Press, Publisher. Louis Slobodkin,1973. Sculpture Principles and Practice. Dover Publications, inc. New York Laura Hoptman ,Massimiliano Gioni, Richard Flood, Trevor Smith, Julia Hasting., 2007. Unmonumental. New York ; Phaidon Press, Publisher. MAURO STACCIOLI., 2009. The Volterra - "luoghi d'esperienza""sites of experience". Bologna; Damiani, Publisher. Oliver Andrews., 1988. LIVING MATERRIALS: A Sculptor’s Handbook. First Paperback printing in the United States of America; University of California Press Richard Long and Denise Hooker, 2002. Richard Long: Walking the Line. First published in New York: Thames & Hudson Publisher. Silvia Langen, 2009.Outdoor Art: Extraordinary Sculpture Parks and Art in Nature. Munich ; Prestel, Publisher

Widodo Jojannes and the Other, 2016,. People + Places Exploring the Living Heritage of Songkhla Old Town. Published: Singapore, 1st Edition
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษาสามรถปรึกษาอาจารย์

ได้ทุกเวลา
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การศึกษากระบวนการเรียนการสอนภายในและนอกชั้นเรียน
- การสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนงานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการศึกษา
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4