การปรับปรุงพันธุ์พืช

Plant Breeding

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 มีความรู้เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดของพืช การสืบพันธุ์ของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การปรับปรุงพันธุ์พืชพืชผสมตัวเองและพืชผสมข้าม การปรับปรุงพันธุ์ต้านทาน สภาพแวดล้อม โรค และแมลงศัตรูพืช เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์พืช และการรับรองพันธุ์พืช
1.2 มีทักษะเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเองและพืชผสมข้าม และการปรับปรุงประชากรพืช
ปรับปรุงหลักสูตรฯ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในยุคปัจจุบัน และให้หลักสูตรมีความทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ วิธีการสืบพันธุ์ของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แหล่งกำเนิดของพืช ขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตรง พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม การปรับปรุงพันธุ์ต้านทานสภาพแวดล้อม การปรับปรุงพันธุ์ต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์พืช และการรับรองพันธุ์
วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ณ ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือโทรศัพท์ 081-792-0315
e-mail : k.rujiphot@gmail.com ทุกวัน
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณ
1.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบ power point/Clip VDO
1.2.2 การสอนแบบ Brain Storming Group
1. การสังเกต/การถาม-ตอบ
2. แบบทดสอบและการสอบ
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
2.2 มีความรอบรู้
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ประกอบ power point/Clip VDO
2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process
1. การสังเกต/การถาม-ตอบ
2. แบบทดสอบและการสอบ
3.1 สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
3.2 มีสามารถคิด ริเริ่มอย่างสร้างสรรค์
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1. การสอนแบบบรรยาย เชิงอภิปรายประกอบ power point/Clip VDO
2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Proces
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
1. การสังเกต/การถาม-ตอบ
2. แบบทดสอบและการสอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ
4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกต/การถาม-ตอบ
2. งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
3. แบบทดสอบและการสอบ
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยี สารสนเทศ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
2. การสอนแบบ Brain Storming Group
3. การมอบหมายงานให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
4. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงานและ/หรือปากเปล่าประกอบ power point
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
2. การสอนแบบ Brain Storming Group
3. การมอบหมายงานให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
4. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงานและ/หรือปากเปล่าประกอบ power point
6.1 ทักษะทางวิชาชีพ
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม มีการเข้าชั้นเรียน มีความรับผิดชอบ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ศรัทธาในความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ 1.2 มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎกติกาของสังคมในชั้นเรียน 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา เคารพกฎกติกา 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น 4. งานมอบหมาย 1-16 10%
2 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ ทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ 2.2 มีความรอบรู้ในหลานสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องและสามารถประยุกร์ใช้ในการดำรงชีวิต 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2.งานมอบหมาย 3. การทดสอบ/การสอบ 9 และ 17 35%
3 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียน 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการแสวงหาเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2.งานมอบหมาย 3. การทดสอบ/การสอบ 9 และ 17 35%
4 4.1 ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อกทน หนักแน่น เสียสละ ให้อภัย รับฟังความคิดของผู้อื่น และการปรับตัว 4.2 จิตอาสาและสำนักสาธารณะ มีน้ำใจ ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ต่อส่วนรวม 1. การสังเกตและการสอบถามผู้เรียนในชั้น 2.งานมอบหมาย 1-16 10%
5 5.1 มีทักษะการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การพูด และการเขียน เพื่อการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสื่อสาร การค้นคว้า และการนำเสนอผลงาน 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. งานมอบหมาย 1-16 10%
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2528. ปรับปรุงพันธุ์พืช. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช, กรุงเทพฯ. 155 น.
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2544. ปรับปรุงพันธุ์พืช : ความหลากหลายของแนวคิด. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 272 น.
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2546. ปรับปรุงพันธุ์พืช : พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 237 น.
นพพร สายัมพร. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 น.
นิตย์ศรี แสงเดือน. 2536. พันธุศาสตร์พืช. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย-เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 315 น.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ. 2527. หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยา-สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 320 น.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ. 2535. พันธุศาสตร์. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ. 342 น.
วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2542. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 276 น.
สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. 2534. พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. ภาควิชาพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 258 น.
กาญจนา รุจิพจน์. 2562. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา BSCAG107 การปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
กาญจนา รุจิพจน์. 2562. เอกสารบทปฏิบัติการรายวิชา BSCAG107 การปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
สำนักงานคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ. 2542. พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542. สำนักงานคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 30 น.
 
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
 
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีคณะกรรมการการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป