ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

Special Problems in Plant Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 รู้จักเอา ความรู้พื้นฐานและวิชาชีพทางพืช ทักษะพื้นฐานและทักษะวิชาชีพมาใช้ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิตพืชและศึกษา ทดลองทางด้านพืชศาสตร์
1.2 เข้าใจหลักการและวิธีการศึกษาการผลิตพืชและปัญหาทางด้านพืชศาสตร์
1.3 รู้จักดำเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนการศึกษาและทดลอง
1.4 สามารถวิเคราะห์ สรุปผลเพื่อตอบคำถามจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิต และปัญหาทางด้านพืชศาสตร์ แล้วเขียนรายงานที่ ถูกต้องตามหลักวิชาการ หรือ ศึกษาค้นคว้า ทดลอง และวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงคำตอบหรือสาเหตุข้อสงสัยจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้
3.1 อาจารย์จัดทำแผนการเรียน-การสอน เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการ แจ้งเป็นข้อตกลงในสัปดาห์แรกของการเรียนการสอน
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
3.3 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ณ ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์
3.4 e-mail : k_rujiphot@gmail.com ทุกวัน
     1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ
2. การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา เคารพกฎกติกา
3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
4. งานมอบหมาย
     2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
š 2.2 มีความรอบรู้
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ
2. การทดสอบ/การสอบ
3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์
1. การสังเกต
2. งานมอบหมาย
3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจาpower point และรายงาน
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียน
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการแสวงหาเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. การสังเกต การถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย
3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์
4.1 ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อกทน หนักแน่น เสียสละ ให้อภัย รับฟังความคิดของผู้อื่น และการปรับตัว
4.2 จิตอาสาและสำนักสาธารณะ มีน้ำใจ ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ต่อส่วนรวม
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกต การถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย
3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ /สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
5.1 มีทักษะการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การพูด และการเขียน เพื่อการสื่อสาร
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสื่อสาร การค้นคว้า และการนำเสนอผลงาน
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
1. การสังเกต/การถาม-ตอบ
2. การวางแผนการทดลองและนำข้อมูลวิเคราะห์ทางสถิติ
3. การเลือกเครื่องมื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการสืบค้น-สื่อสาร
3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม มีการเข้าชั้นเรียน มีความรับผิดชอบ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ศรัทธาในความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ 1.2 มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎกติกาของสังคมในชั้นเรียน 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา เคารพกฎกติกา 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ / สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น 4. งานมอบหมาย 1-16 10%
2 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ ทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ 2.2 มีความรอบรู้ในหลานสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องและสามารถประยุกร์ใช้ในการดำรงชีวิต 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การทดสอบ/การสอบ 3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์ 1-16 30%
3 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียน 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการแสวงหาเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ 1. การสังเกต การถาม-ตอบ 2. งานมอบหมาย 3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์ 1-16 30%
4 4.1 ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อกทน หนักแน่น เสียสละ ให้อภัย รับฟังความคิดของผู้อื่น และการปรับตัว 4.2 จิตอาสาและสำนักสาธารณะ มีน้ำใจ ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ต่อส่วนรวม 1. การสังเกต การถาม-ตอบ 2. งานมอบหมาย 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ /สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น 1-16 15%
5 5.1 มีทักษะการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การพูด และการเขียน เพื่อการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสื่อสาร การค้นคว้า และการนำเสนอผลงาน 1. การสังเกต/การถาม-ตอบ 2. การวางแผนการทดลองและนำข้อมูลวิเคราะห์สถิติ 3. การเลือกเครื่องมื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา power point และรายงานฉบับสมบูรณ์ 1-16 15%
6 - - - -
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร. มปป. คู่มือปัญหาพิเศษ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน. 46 น.
วารสารภาษาไทย เช่น วารสารวิชาการเกษตร, แก่นเกษตร, วารสารทางการเกษตรและเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น มก., มช., มข., มอ., มน., มจ., มวล., ม.สุรนารีฯ มจธ., สจล. ฯลฯ
รายงานปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ที่ผ่านมา
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีคณะกรรมการการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
 
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป