สัมมนาพืชศาสตร์

Seminar in Plant Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับการสัมมนาและองค์ประกอบของการสัมมนา
1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสัมมนา การศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการ การสังเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล การจัดทำรายงานสัมมนาฉบับสมบูรณ์ และการนำเสนอผลงานทางวิชาการ การจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการ
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสัมมนาและองค์ประกอบของการสัมมนา นำเสนองานอภิปรายปัญหาและให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ในการสัมมนาหรือการประชุมวิชาการ
วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ณ ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ นอกเวลาราชการทุกวันทำการ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
     1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณ
1. การสอนแบบบรรยายประกอบ power point
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ
2. การตรงต่อเวลา
3. งานมอบหมายค้นคว้าเอกสาร/บทความทางวิชาการ)
     2.1 มีความรู้ในสาขาวชาชีพ
š 2.2 มีความรอบรู้
1. การสอนแบบบรรยายประกอบ power point
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกตและถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย (Power Point และ
เอกสารบทความทางวิชาการ)
š 3.1 สามารถคิด วิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
˜ 3.2 มีสามารถคิด ริเริ่มอย่างสร้างสรรค์
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1. การสอนแบบบรรยายประกอบ power point
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
3. การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่าประกอบ Power point
   4.1 มีภาวะผู้นำ
˜ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
1. การสอนแบบบรรยายประกอบ power point
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
3. การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า ประกอบ Power point
˜ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร
˜ 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยี สารสนเทศ
1. การสอนแบบบรรยายประกอบ power point
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
1. การสังเกตและการถาม-ตอบ
2. งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
3. การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า ประกอบ Power point
6.1 ทักษะทางวิชาชีพ
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีการเข้าชั้นเรียน มีความรับผิดชอบ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ศรัทธาในความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ 2.มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎกติกาของสังคมในชั้นเรียน 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. การตรงต่อเวลา 3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3. งานมอบหมาย 1-16 10%
2 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ ทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ 2. มีความรอบรู้ในหลานสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องและสามารถประยุกร์ใช้ในการดำรงชีวิต 1. การสังเกตและการถาม-ตอบ 2. งานมอบหมาย 3. การนำเสนอในชั้นเรียน 7-16 30%
3 1. สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 2. สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานความรู้ที่เรียน 3. ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการแสวงหาเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ 1. การสังเกต ถาม-ตอบ 2.การทดสอบ 7-16 15%
4 1. ภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก อกทน หนักแน่น เสียสละ ให้อภัย รับฟังความคิดของผู้อื่น และการปรับตัว 2.จิตอาสาและสำนักสาธารณะ มีน้ำใจ ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ต่อส่วนรวม 1. การสังเกต การสอบถามผู้เรียนในชั้น 2.งานมอบหมาย 1-16 15%
5 1. มีทักษะการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การพูด และการเขียน เพื่อการสื่อสาร 2. มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสื่อสาร การค้นคว้า และการนำเสนอผลงาน 1. จัดกิจกรรมประชุมสัมมนาทางวิชาการพืชศาสตร์ 2. นำเสนอผลงานทางวิชาการแบบปากเปล่าและเครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ผลงานทางวิชาการที่มีการใช้ข้อมูลทางสถิติที่เกี่ยวข้องในแบบเอกสาร power point และ/หรือ poster 16 30%
6 -
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร. มปป. คู่มือปัญหาพิเศษ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน. 46 น.
เอกสารประกอบการประชุมวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ เช่น  มทร. มก. มข. มช. มอ.ฯ
 
กรมวิชาการเกษตร https://www.doa.go.th
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) https://www.nrct.go.th/
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) https://www.nstda.or.th/
 
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีคณะกรรมการการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชา/หลักสูตรฯ มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป