การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

International Business Management

รู้เกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐาน และปัจจัยเกื้อหนุนต่อการขยายตัวของธุรกิจระหว่างประเทศ เข้าใจกระบวนการและขั้นตอนของการจัดการในองค์การธุรกิจระหว่างประเทศเข้าใจวิธีการทำงาน วิธีการวิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการทำงาน รู้วิธีดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศด้วยการจัดการสมัยใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ ของบริษัทข้ามชาติ เข้าใจผลกระทบของความแตกต่างทางวัฒนธรรมในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการระหว่างประเทศ ด้วยความรู้ คุณธรรมและจริยธรรมที่ดี
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และความเข้าใจต่อสภาพแวดล้อมของธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในระดับสากล ทั้งนี้นักศึกษาจะได้มีการเตรียมความพร้อมต่อการนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศได้อย่างเหมาะสม ด้วยการบูรณาการร่วมกับสาระการเรียนรู้ของศาสตร์อื่น ๆ เช่น เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ กระบวนการจัดการการผลิต ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการและการวางแผน รวมทั้งนักศึกษาจะได้มีการปรับตัวและเรียนรู้ถึงการทำงานร่วมกันบนความแตกต่างของวัฒนธรรมที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
ศึกษาพื้นฐานของการขยายตัวของธุรกิจระหว่างประเทศ ปัจจัยพื้นฐาน และปัจจัยเกื้อหนุนต่อการขยายตัวสู่ธุรกิจระหว่างประเทศ กระบวนการทางการจัดการที่เกิดขึ้นในองค์การระหว่างประเทศ การลงทุนในต่างประเทศ กระบวนการวางแผน การจัดองค์การ การนำพาธุรกิจ และการควบคุมการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ ศึกษาผลกระทบในรูปแบบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากความแตกต่างทางวัฒนธรรม และศึกษากลยุทธ์ทางการจัดการสมัยใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดการของบริษัทข้ามชาติในยุคปัจจุบัน
 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
โดยการแสดงความรับผิดชอบหลัก (●) และความรับผิดชอบรอง (○)

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ● 1.มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์ สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ○ 2. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึก รับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม ○ 3. มีความเคราระต่อกฎระเบียบ และข้อบังคบต่างๆขององค์กรและสังคม ○ 4. มีความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ   5.มีทัศนะคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์   6.สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน   1.จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ü 2.สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหาวิชา ü 3.ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย   4. กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น   5.เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมี เมตตากรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน   6.สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน   7.อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
รายละเอียดวิธีการประเมินผล   1.การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ü 2.การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ü 3.การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ได้รับมอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม   4. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนองาน   5.ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์   6.ปริมาณการทุจริตในการสอบ   7.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
โดยการแสดงความรับผิดชอบหลัก (●) และความรับผิดชอบรอง (○)

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ด้านความรู้ ● 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา วิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาที่ศึกษากับความรู้ในศาตรณอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง ○ 2. มีความรู้ความเข้าใจสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรง
ชีวิตประจำวัน ● 3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับการะบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์กร การปฏิบัติ การควบคุมและผลดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ○ 4. มีความรู้กับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน   5.สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด   6.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง   7.รู้ เข้สาใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง   8.มีความรู้ในแนวกวางของสาขาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆที่เกี่ยวข้อง   9.มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้งานได้จริง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1.จัดรูปแบบการสอนที่หลากหลายโดนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ 1,2.3 ü 2.จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 1,2.3   3.จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง   ü 4. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก้เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 1,2,3   5.ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง     6.การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ     7.อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน  

 
รายละเอียดวิธีการประเมินผล ü 1.การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน   2.รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ   3.ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง   4. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ ü 5.ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา   6.ประเมินจากการนำเสนอผลงาน ü 7.ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
โดยการแสดงความรับผิดชอบหลัก (●) และความรับผิดชอบรอง (○)

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ด้านทักษะทางปัญญา ○ 1.สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง ● 2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ ○ 3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพท่อให้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป   4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ   5.สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการสอนกับการทำงาน     2.จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา   ü 3.กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงาน     4. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน     5.การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง   ü 6.การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนรวมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความเห็น     7.จัดให้ในรายวิชา มีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่างๆทั้งในสาขาและนอกสาขา  
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดวิธีการประเมินผล ข้อ   1.ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา     2.การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ     3.การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง     4. ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา     5.ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอยที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา ซึ่งต้องหลีกเหลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา   ü 6.ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน     7.ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง     8.ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา  
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก (●) และความรับผิดชอบรอง (○)

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ● 1.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคาระความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมและสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ ○ 2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ๆได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม   3. มีความสามารถในหารประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้องทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน ○ 4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง   5.สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ   6.มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม   7.สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1.สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง   ü 2.จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม     3.จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป     4. มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง     5.มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะก้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา     6.มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ  
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดวิธีการประเมินผล ข้อ   1.การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค   ü 2.พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา     3.พฤติกรรมและการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา     4. การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา     5.พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี     6.สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)   ü 7.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากรายงานหน้าชั้นเรียน     8.ใช้ผลการประเมินจากากรฝึกงานและการสหกิจศึกษา  
โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก (●) และความรับผิดชอบรอง (○)

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ○ 1.สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตักสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน ● 2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ ○ 3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ   4. มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์   5.สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์   6.มีสามารถใช้เทคโนโลยีสาสรสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1.สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้า และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยงข้อง     2.จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆจากกรณีศึกษา     3.จัดให้นักศึกษาได้ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย   ü 4. จัดกิจการรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม     5.ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทางเทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพท่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้   ü 6.มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  
รายละเอียดวิธีการประเมินผล   1.การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค ü 2.ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ü 3.พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสารของนักศึกษาเพื่อการสื่อสาร   4. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ   5.ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสรเทศ ทักษะการปฏิบัติงานวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ(Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA209 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.1.4 - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 9,17 25% 25%
2 1.1.4, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.1.4, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.4, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและ ผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ, 2560. รศ.ดร.ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร
การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ, 2548. ดร.ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชาที่กำหนด
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาระหว่างเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทดสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบกลางภาคและปลายภาค และหลังจากการตัดเกรดผลการเรียนในรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาดังนี้
4.1 การทวนสอบจากการออกข้อสอบ การให้คะแนนสอบ หรืองานที่มอบหมาย และรวมถึงการให้คะแนนพฤติกรรมโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมระหว่างการเข้าเรียนและการร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะผละผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน หรือปรับปรุงกิจกรรม/โครงการ/โครงการที่มอบหมาย เพื่อให้