กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง

Anatomy and Physiology of Farm Animals

1.1 ความรู้ความเข้าใจกายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง
1.2 เข้าใจหน้าทีและการทำงานของอวัยวะในระบบต่างๆ
1.3 จำแนกและระบุตำแหน่งของอวัยวะในระบบต่างๆ
1.4 สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการศึกษากับรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
1.5 มีค่านิยมที่ดี มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักใน คุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การปรับปรุงของหลักสูตร และกระตุ้นให้นักศึกษามีการพัฒนาการกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆของร่างกายสัตว์เลี้ยง
-จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์โดยใช้วิธีนักศึกษานัดหมายอาจารย์ล่วงหน้า
-นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address: napat1705@gmail.com
 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์
 
1. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
6. การสอนฝึกปฏิบัติการ
7. การสอนโดยใช้เกม (Games
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
3.การสัมภาษณ์
4.การส่งรายงาน
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. การนำเสนองาน
5. รายงานบทปฏิบัติการ
มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. การนำเสนองาน
5. รายงานบทปฏิบัติการ
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
 
. 1การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 5.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 5.1.1 และ 5.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
ใช้ Power point / Visualizer
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
1 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
๒ สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็น ธรรมชาติ
ปฏิบัติในห้องปฎิบัติการสาขาวิชาสัตวศาสตร์
1 การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
4. รายงานบทปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและคงามรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 2.1 3.1 4.1 5.1
1 BSCAG201 กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1 การสอบย่อย , การสอบกลางภาค 3/5, 9 5%/10%,14%
3 3.1 การสอบย่อย , การสอบปลายภาค 12/15,18 8/13, 8%
4 4.1 4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
5 5.1 การนำเสนองาน/รายงาน 4-5-6,10-11-12 20%
6 6.1 6.2 ปฏิบัติการ รายงานปฏิบัติการ การตอบคำถาม การสังเกต 1-8,10-17 12%
นิภา นาสินพร้อม. 2556. เอกสารประกอบการสอนวิชากาย
วิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง. น่าน :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
ประมวล เติมสมบัติถาวร. 2559. กายวิภาคและสรีรวิทยา
ของสัตว์เลี้ยง. น่าน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลล้านนา น่าน.
บุญเลิศ ชินบุตร. ม.ป.ป. กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์
เลี้ยง. เชียงใหม่ : สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้.
วิโรจน์ จันทรัตน์. 2531. กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์
เลี้ยง. เชียงใหม่ : สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้.
จำเนียร สัตยาพันธ์. 2535. กายวิภาคและสรีรวิทยาของ
สัตว์เลี้ยง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
http://en.wikibooks.org/wiki/Anatomy_and_Physiology_of_Animals
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการ เรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง โดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนด ทุกสาขา การศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอน/ การวิจัยในชั้น เรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทำวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย สาขาการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหา การเรียนรู้ของ นักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบ และระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบ ของสาขาวิชา ภายในกรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมิน การสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป