โรคและการสุขาภิบาลสัตว์

Animal Diseases and Sanitation

เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปศุสัตว์ รวมทั้งโรคพยาธิที่  สำคัญ สาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการ การตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกันและกำจัดโรคที่สำคัญ พระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการความรู้ทางทฤษฎีและการนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในด้านสัตวศาสตร์ และให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปศุสัตว์ รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญ สาเหตุ ระยะ
ฟักตัว การระบาด อาการ การตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกันและกำจัดโรคที่สำคัญ พระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
-จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์โดยใช้วิธีนักศึกษานัดหมายอาจารย์ล่วงหน้า  -นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address: napat1705@gmail.com  แก้ไข
 
 
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม  1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  ข้อ 1.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก  ข้อ 1.1.1 1.1.2 และ 1.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  - สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา  - จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น  - นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น  - การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด  - ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร  - การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียนว่ามีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม มีการคัดลอกรายงานของนักศึกษาผู้อื่น  - บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  ข้อ 2.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก  ข้อ 2.1.2 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- การบรรยายประกอบสื่อการสอน  - การอภิปรายกลุ่ม โดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และนำเสนอรายงาน
- ข้อสอบแต่ละหน่วยเรียน โดยการการสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน  - การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา  นักศึกษาต้องคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้  3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  ข้อ 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก  ข้อ 3.1.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
-การถามตอบ จากการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และนำเสนอรายงาน  -สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ให้นักศึกษาแสดงความเห็น และหรือระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหา
-การถามตอบ จากการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และนำเสนอรายงาน  -สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ให้นักศึกษาแสดงความเห็น และหรือระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  ข้อ 4.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก  ข้อ 4.1.1 4.1.2 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
- การอภิปรายกลุ่ม โดยการกำหนดหัวข้อที่เป็นประเด็นการผลิตสัตว์ที่กระทบต่อสังคม มอบหมายงานให้ นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม และนำเสนอรายงาน
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม  - การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล  - สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ข้อ 5.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก  ข้อ 5.1.1 และ 5.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- ให้นักศึกษาสืบค้น โดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติม และจัดทำรายงาน  - การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- การประเมินผลงานรายบุคคล (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียน  - ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่าง 
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2, 1.1.3 การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน 1-18 5
2 1.1.2, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.4, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) 1-18 10
3 3.1.1, 3.1.2,4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 1-18 5
4 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ข้อสอบ กลางภาค และปลายภาค 1-18 60
5 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน 1-18 10
6 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วม / การส่งงาน 1-18 5
7 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 1-18 5
ทัศนีย์ อภิชาติสรางกูร. 2540 สุขศาสตร์สัตว์ เชียงใหม่: ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 310 หน้า. ISBN 974-89581-0-8  อาคม สังข์วรานนท์. 2541. ปาราสิตวิทยาคลินิกทางสัตว์แพทย์. คณะสัตวแพทยศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 412 หน้า. ISBN 974-553-463-3
ไม่มี
ไม่มี
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย  -การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
-ผลการทดสอบ  -การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 1 และ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน ดังนี้  -สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  -การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างการจัดการเรียนการสอน จะมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เป็นระยะๆ จากการสอบถามนักศึกษา การทดสอบต่าง ๆ รวมถึงพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงาน และส่งงานตามกำหนด 
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  -ขอคำแนะนำจากผู้มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้อง