เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช

Postharvest Technology of Plant

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
              1. รู้ขอบเขตและความสำคัญของวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืช
          2. รู้ลักษณะองค์ประกอบทางเคมีของผลิตผลพืช
          3. เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่สำคัญหลังการเก็บเกี่ยว      
4. เข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพและอายุการเก็บเกี่ยว
          5. เข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการเก็บเกี่ยว การเตรียมผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา คุณภาพและมาตรฐาน   และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว
          6. เห็นความสำคัญของวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
     เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติต่อผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการวิเคราะห์อันเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเอาเทคโนโลยีไปใช้  โดยมีการนำเอาผลงานวิจัยใหม่ๆ มาเพิ่มเติมในเนื้อหาของรายวิชาให้ทันสมัยสอดคล้องกับ ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและขอบเขตของเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา ดัชนีและวิธีการเก็บเกี่ยว การควบคุมศัตรูพืช การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ ตลอดจนวิธีการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิต
1 -2  ชั่วโมง/สัปดาห์โดยจะแจ้งให้ทราบในชั่วโมงแรกของการสอน สำหรับเวลาที่นักศึกษาสามารถพบได้ คือ   วันพุธ เวลา 15.00  - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์  สาขาพืชศาสตร์     โทร. 0834121508
       facebook pornwipa sanawong โดยจัดตั้งกลุ่ม  อาจารย์จะตอบเมื่อมีเวลาว่าง
 
1.1 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
š1.1 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ ตรงต่อเวลา มีส่วนร่วมในการการปฏิบัติงานกลุ่ม
2. ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการสอบ
3. ประเมินจากรายงานที่ส่ง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) และให้มีการอภิปรายกลุ่ม
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
3. กำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ตและทำรายงานส่ง
1. การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม
3. ประเมินจากการนาเสนองานและส่งรายงาน
4. ศึกษานอกสถานที่
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
1. การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
š4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ให้ทำงานมอบหมายเป็นกลุ่ม
2. ให้มีการนำเสนอข้อมูลของกลุ่มแก่เพื่อนๆ ในชั้นเรียน
1. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 2. การมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและนาเสนอผลงาน
1. ประเมินจากทักษะการเขียน การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ จากการอ่านและการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ที่เรียน ยกเว้นสัปดาห์ที่มีการสอบ 15 % การทดสอบย่อย หลังสอนแต่ละหน่วยเรียน 15 % การสอบกลางภาค 9 20 % ผลการปฏิบัติงาน การนำเสนอผลการปฏิบัติงาน/การรายงาน 17 30% การสอบปลายภาค 18 20 % รวม 100 % การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค ผลการปฏิบัติงาน การนำเสนอผลการปฏิบัติงาน/การรายงาน การสอบปลายภาค การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ที่เรียน ยกเว้นสัปดาห์ที่มีการสอบ 15 % การทดสอบย่อย หลังสอนแ 15 %
2 การทดสอบย่อย หลังสอนแต่ละหน่วยเรียน หลังสอนแต่ละหน่วยเรียน 15 %
3 การสอบกลางภาค ข้อสอบ 9 20 %
4 ผลการปฏิบัติงาน การนำเสนอผลการปฏิบัติงาน/การรายงาน การทำผลงาน ผลการทดลอง ทุกสัปดาห์ 30%
5 การสอบปลายภาค การสอบ ข้อสอบ 18 20 %
จริงแท้  ศิริพานิช. 2541. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่        2.    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.396 หน้า.
วันชัย จันทร์ประเสริฐ. ๒๕๔๒. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืช ไร่นา  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ๒๗๖ น.
http:///www.doa.go.th
http:///www.doae.go.th
http://kanchanapisek.or.th
http://www.ricethailand.go.th/rkb/index.htm
- การใช้โปรแกรม Word   Excel  Power point  เพื่อทำงานมอบหมาย
- การใช้งานอินเตอร์เน็ต (internet) เพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ
 
http:///www.doa.go.th
http:///www.doae.go.th
http://kanchanapisek.or.th
http://www.ricethailand.go.th/rkb/index.htm
- การใช้โปรแกรม Word   Excel  Power point  เพื่อทำงานมอบหมาย
- การใช้งานอินเตอร์เน็ต (internet) เพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ
ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ และมีระบบการประเมินรายวิชาโดยให้ผู้เรียนประเมินและแสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชาทางระบบอินเตอร์เน็ต
อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ โดยการสังเกต การดูผลการปฏิบัติงาน การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
 
สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทาหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบ และความเหมาะสมของการให้คะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร