แบดมินตัน

Badminton

1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของกีฬาแบดมินตันได้อย่างถูกต้อง
2. เพื่อให้มีความรู้และสามารถรักษาวัสดุอุปกรณ์กีฬาแบดมินตันได้
3. เพื่อให้มีความรู้ในกติกาการแข่งขันประเภทเดี่ยว และประเภทคู่ของกีฬาแบดมินตันได้
4. เพื่อฝึกให้มีทักษะเบื้องต้นของกีฬาแบดมินตัน เช่น การจับแร็กเก็ต การตีลูกมือบนและล่าง การ
ตบ การรับ และการส่งได้
เพิ่มกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ และลงมือเล่นให้มากที่สุดเพื่อเพิ่มทักษะในการเล่นกีฬาแบดมินตัน และให้นักศึกษาได้ศึกษาวิธีการเล่นจากสื่อต่างๆ เพื่อที่จะได้นำมาปรับปรุงวิธีการเล่นของตนเอง
ศึกษาประโยชน์การออกกำลังกาย รู้วิธีการเสริมสร้างสมรรถภาพทางด้านร่างกาย การดูแลรักษาสุขภาพการรู้จักการใช้และรักษาอุปกรณ์กีฬาแบดมินตัน ฝึกทักษะเบื้องต้น การจับแร็กเก็ต การตีลูกมือบนและล่าง การตีลูกดาด การตีลูกหยอด  การตบ การรับ การส่งลูก การวิ่งคอร์ด ร่วมถึงการฝึกการเล่นประเภทเดี่ยวการกเล่นประเภทคู่ กติกาการแข่งขันประเภทเดี่ยว และประเภทคู่ของกีฬาแบดมินตัน
1.อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ ขอมหาวิทยาลัย
2.อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์    
     (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 มีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด

2.รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม
3.แต่งกายถูกระเบียบ ประพฤติปฏิบัติถูกต้องตาม กฎ ระเบียบ ของมหาวิทยาลัย
1.2.1    ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่าง ๆ
1.2.2    ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.2.3    อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลาการเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1.3.1    ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่โปรแกรมวิชา/คณะจัดกิจกรรมต่าง ๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคาราวะต่อผู้อาวุโสและอาจารย์
1.3.2    การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนการส่งรายงานการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบ
1.3.3    ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชา
1.3.4    นักศึกษาประเมินตนเอง
2.1.1 มีความรู้หลักการและทฤษฏีที่สัมพันธ์กันในกีฬาแบดมินตัน
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฏีพื้นฐานศึกษาประโยชน์การออกกำลังกาย รู้วิธีการเสริมสร้างสมรรถภาพทางด้านร่างกาย การดูแลรักษาสุขภาพการรู้จักการใช้และรักษาอุปกรณ์กีฬาแบดมินตัน ฝึกทักษะเบื้องต้น การจับแร็กเก็ต การตีลูกมือบนและล่าง การตีลูกดาด การตีลูกหยอด  การตบ การรับ การส่งลูก การวิ่งคอร์ด ร่วมถึงการฝึกการเล่นประเภทเดี่ยวการกเล่นประเภทคู่ กติกาการแข่งขันประเภทเดี่ยว และประเภทคู่ของกีฬาแบดมินตัน
2.1.3 มีความรู้ในการดูแลรักษาอุปกรณ์กีฬาแบดมินตัน
2.2.1 ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
2.2.2 จากการสนทนาร่วมกัน การแสดงความคิดเห็น การระดมสมอง
2.2.3 การค้นคว้าจากสื่อต่าง ๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
2.2.4 การลงมือปฏิบัติในการเล่น และการฝึกทักษะเบื้องต้นในการเล่นกีฬาแบดมินตัน
2.2.5 จัดการแข่งขันกีฬาแบดมินตันทั้งประเภทเดี่ยว และประเภทคู่
2.2.6 การบรรยายโดยใช้Power point ประกอบกับการดูจากรูปภาพ วีดีโอรูปแบบการ
2.3.1 การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน
2.3.2 การลงมือปฏิบัติในการเล่น และการฝึกทักษะเบื้องต้นในกีฬาแบดมินตัน
2.3.3 ผลการฝึกปฏิบัติจากการแข่งขัน
2.3.4 รายงานการค้นคว้าและการนำเสนอผลงาน
2.3.5 ข้อสอบวัดความรู้และความเข้าใจ
2.3.6 นำเสนอสรุปการค้นคว้าข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตในรูปแบบรายงาน
2.3.7 วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.1.1 สามารถใช้ทักษะที่ได้ปฏิบัติตามที่ได้ฝึกฝน จากเนื้อหาสาระสำคัญของรายวิชา
แบดมินตัน
3.1.2 มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ความเข้าใจในแนวคิด หลักการทฤษฏีและ
กระบวนการต่างๆ ในทักษะเบื้องต้นของกีฬาแบดมินตันได้
3.1.3 มีทักษะเบื้องต้นในการเล่นแบดมินตันได้ดี
3.1.4 สามารถเล่นแบดมินตันได้ทั้งประเภทเดี่ยวและประเภทคู่ได้ดี
3.1.5 สามารถเลือกอุปกรณ์และดูแลรักษาอุปกรณ์กีฬาแบดมินตัน
 
3.2.1 การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำรายงาน และมีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการฝึกเล่นแบดมินตัน
3.3.1 การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน
3.3.2 การลงมือปฏิบัติในการเล่น และการฝึกทักษะเบื้องต้นในกีฬาแบดมินตัน
3.3.3 ผลการฝึกปฏิบัติจากการแข่งขัน
3.3.4 รายงานการค้นคว้าและการนำเสนอผลงาน
3.3.5 ข้อสอบวัดความรู้และความเข้าใจ
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
ตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าการนำเทคโนโลยีมาใช้ใน
การบริหารทรัพยากรมนุษย์การศึกษาเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
4.2.3 การนำเสนอรายงานรายบุคคล และรายงานกลุ่ม
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 การนำเสนอรายงานรายบุคคล และรายงานกลุ่ม
5.1.1พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน
และการนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากwebsite และทำรายงานโดยการ
ค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
5.2.2 นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
    - แบดมินตัน  จาก การกีฬาแห่งประเทศไทย
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น  การกีฬาแห่งประเทศไทย ,สมาคมแบดมินตัน
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน
และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่
ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการ
สังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ
ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่สกอ.กำหนดทุก
ภาคการศึกษา โปรแกรมวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การ
วิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อย
ภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของ
ภาควิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาใน
รายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับ
คะแนนของรายวิชา 50% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลา
หลักสูตร
ภาควิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป