การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง

Power System Protection

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหม้อแปลงเครื่องมือวัดและทรานส์ดิวเซอร์ 1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันและระบบการป้องกัน 1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันกระแสเกินและฟอลต์ลงดิน 1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันแบบผลต่างและการป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์วัดระยะทาง 1.6 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันสายส่งโดยใช้ไพล๊อตรีเลย์ 1.7 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมอเตอร์และการป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า 1.8 การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและการป้องกันเขตบัส
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการป้องกันแต่ละส่วนและวิธีการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังในแต่ละส่วน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง หม้อแปลงเครื่องมือวัดและทรานส์ดิวเซอร์ อุปกรณ์ป้องกันและระบบป้องกัน การป้องกันกระแสเกินและฟอล์ตลงดิน การป้องกันแบบผลต่าง การป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์วัดระยะทาง การป้องกันสายส่งโดยใช้ไพล๊อตรีเลย์ การป้องกันมอเตอร์ การป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การป้องกันเขตบัส ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันแบบดิจิทัล
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1.2.1 แนะนำในห้องเรียน 1.2.2 อธิบายความหมายข้อดี ข้อเสีย  1.2.3 แนะนำและยกตัวอย่าง อธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน 1.2.4 แนะนำและอธิบายในชั้นเรียน มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ ครู อาจารย์ พ่อ แม่ ผู้อาวุโสที่เป็นเครือญาต และรุ่นพี
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา 1.3.2 เช็ครายชื่อนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียน ตรวจงานที่มอบหมายให้นักศึกษา เน้นให้ส่งตรงตามเวลา
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 มีความรู้ความเข้าในด้านทฤษฎีและสามารถนำไปปฎิบัติได้
2.2.1 สอนและอธิบายตามรายละเอียดในคำอธิบายรายวิชา           - ใช้สื่อการสอนเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดี เช่น ใช้รูปภาพ แผ่นใส ของจริง เป็นต้น
2.3.1  สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา 2.3.2  ให้คะแนนใบงาน สอบข้อเขียนและปฏิบัติ ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค 2.3.3  ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา 2.3.4  ประเมินจากแบบฝึกหัดของนักศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ
มอบหมายโครงงานให้นักศึกษาทำ
ตรวจสอบโครงงานของนักศึกษา
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสัมคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถทำงานเป็นกลุ่มได้
4.2.1 แนะนำในห้องเรียน 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา  4.3.2 ตรวจสอบงานที่ทำและสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข 5.1.2 ทักษะในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาคิดคำนวณเชิงตัวเลขโดยใช้เครื่องคำนวณตัวเลขที่สอดคล้องกับยุคสมัย 5.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.3.1 ตรวจสอบงานคิดคำนวณเชิงตัวเลขที่ได้มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ 5.3.2 ตรวจสอบงานที่ได้ให้นักศึกษาหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
6.1.1 ความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ
6.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
6.3.1 ตรวจสอบงานความถูกต้อง 6.3.2 ส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 ENGEE136 การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ความรู้ ทดสอบระหว่างเรียน 9,17 และ(ตามความเหมาะสม) 70%
2 - ทักษะทางปัญญา - ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 - คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. นายวิสูตร อาสนวิจิตร. 2562. เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา ENGEE136 การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง. วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่.
1. ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์. การป้องกันระบบไฟฟ้า (Power System Protection). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัท จี.บี.พี. เซ็นเตอร์ จำกัด; 2551.  
2. กิตติพงษ์ ตันมิตร. การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง (Electric Power System Protection) ตามหลักสูตรของสภาวิศวกร. กรุงเทพฯ : ท้อป; 2553.  
3. ชำนาญ ห่อเกียรติ. การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง (Electrical Power System Analysis). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2550.
1. PIS POWER DISTRIBUTION. ABB OF Fuse Link ตามมาตรฐาน IEC 60269. [Online], Available: http://www.pispd.com/abb/of-fuse-link/
2. Thongchai Hanwirodkul ABB. Current Transformer Low Voltage CBT/1. [Online], Available: https://new.abb.com/medium-voltage/apparatus/instrument-transformers-and-sensors-id/products/ansi-current-transformers/metering-0-6-kv/cbt-1
3. XIGAO Electricenergy กรุ๊ป จำกัด.หม้อแปลงไฟฟ้ากระแสสลับแรงดันสูงรุ่น LVQB 3 เฟส. [Online] Available: http://th.xgcircuitbreaker.com/current-transformer-ct/oil-immersed-current-transformer/3-phase-indoor-or-outdoor-type-oil-current.html
 1.1  การสังเกตการณ์สอน
 1.2  การสัมมนาเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2 ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีใหม่ๆ
4.1 ตรวจสอบการให้คะแนนนักศึกษาและงานที่ได้รับมอบหมาย
4.2 การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
5.1 จัดประชุมสัมมนาเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร 5.2 เชิญผู้ทรงคุณวุฒิอ่านหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะ