สัมมนาพืชศาสตร์ 1

Plant Science Seminar 1

นักศึกษารู้และเข้าใจในรูปแบบ หัวข้อและการตั้งซื่อโครงร่าวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระในด้านพืชศาสตร์ ได้ นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และประมวลความรู้จากการค้นคว้าผลงานวิชาการที่สอดคล้องกับหัวข้อต่างๆ ในโครงร่าวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระด้านพืชศาสตร์  นักศึกษาสามารถเรียบเรียงและเขียนหัวข้อต่างๆ ในโครงร่าวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระในด้านพืชศาสตร์ได้. นักศึกษารู้และเข้าใจในรูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงโครงร่าวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระในด้านพืชศาสตร์ ได้ถูกต้อง นักศึกษาสามารถสรุปและนำเสนอแบบปากเปล่าในหัวข้อโครงร่าวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระในด้านพืชศาสตร์ได้
 การปรับปรุงรายเนื้อหาเพิ่มเติมรายละเอียดของวิชา ด้านความรู้  ความเข้าใจ ให้ได้ตามเกณฑ์ของหลักสูตร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ  และรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้และสอดคล้องกับปรัชญาหลักสูตรที่ได้ปรับปรุงใหม่ให้ทันสถานการณ์ในโลกปัจจุบัน
        การศึกษาและค้นคว้าข้อมูลผลงานวิจัยด้านพืชศาสตร์ที่เป็นความรู้ทั่วไปที่สอดคล้องกับการจัดทำโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือค้นคว้าอิสระ การวิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล  การเขียนโครงร่าง และเทคนิคการนำเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือค้นคว้าอิสระของนักศึกษา การประเมินผลในรายวิชาเป็นระดับคะแนน พอใจ (S) และไม่พอใจ (U)
        Study on searching for scientific publications related to plant science thesis/ independent study’s proposal. Analyze and criticize data for thesis/ independent study’s proposal writing and presentation. Evaluation of the subject was satisfactory (S) and unsatisfactory (U).
    3.1 วัน ศุกร์ เวลา 16.00 – 17.00 น. ห้อง 2 อาคารปฏิบัติการวิทยาศาสตร์กลาง สวก.
         โทร  083 865 7722
    3.2  e-mail; jiratawan@gmail.com  เวลา 16.00 – 18.00 น. ทุกวัน
˜  1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
™1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
˜1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
™ 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.  ใช้วิธีการสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม  ในชั้นเรียน
2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1. การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
2. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชาเดียวกัน
3. นักศึกษาประเมินตนเอง
˜  2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในการเลือกห้วข้อและหลักการเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
˜  2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้าห้วข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระได้
š  2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
š 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่สัมพันธ์กับโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
2. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา  และสื่อสารสนเทศ  และนำความรู้มา สรุป อภิปรายและเขียนในโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระที่สอดคล้องกับปรัชญาของหลักสูตร
1. ความก้าวหน้าของโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
2. การนำเสนอรายงานโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ที่นักศึกษาสนใจ
˜ 3.1มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
š 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบสัมมนา วิเคราะห์และสังเคราะห์ ในเรื่องที่สืบค้นมานำเสนอในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ที่นักศึกษาสนใจศึกษา    
1. ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
2. ความก้าวหน้าในการจัดทำโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ในแต่ละบท
3. รูปเล่มสัมมนาโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ฉบับสมบูรณ์
˜ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
  š  4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
  ˜ 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
  ˜ 4.4  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
  š 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
โครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ นักศึกษาสนใจศึกษา และร่วมประเมินผลการนำเสนองานของเพื่อนร่วมชั้น โดยการถามตอบและมีการให้ข้อคิดเห็น  
สามารถประเมินตนเองได้ในการเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
มอบหมายให้นักศึกษาเป็นผู้นำเวทีและจัดการในระหว่างการนำเสนอปากเปล่าในโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองานค้นคว้าทางวิชาการที่หัวข้อด้านเพืชศาสตร์ที่นักศึกษาสนใจศึกษา และทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
š  5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  ˜ 5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าอิสระ
 ˜5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
  ˜  5.4  สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้วิธีการสอนเชิงปฏิบัติการเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์ และการนำเสนอแบบปากเปล่าด้วยสื่อต่างๆ
1. ความก้าวหน้าของผลงานเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ  หรือบทความทางวิชาการที่ค้นคว้าที่ให้ปฏิบัติตามหัวข้อในแผนการสอน
 
2. การนำเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ในรูปของ โครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
และนำเสนอปากเปล่า
นักศึกษามีทักษะในการสืบค้นผลงานวิจัยที่ผ่านมา และสามารถนำประยุกต์ใช้ในการศึกษาวิทยนิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระได้
นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
นักศึกษามีทักษะในการประเมินผลการนำเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์แบบปากเปล่า ทั้งด้านเนื้อหาวิชาการและวิธีการนำเสนอ และการตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ใช้วิธีการสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียน อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบสัมมนา วิเคราะห์และสังเคราะห์ ในเรื่องที่สืบค้นมานำเสนอในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ที่นักศึกษาสนใจศึกษา การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ที่นักศึกษาสนใจศึกษา ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบสัมมนา นำเสนอผลงานการศึกษาหัวข้อ โครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ นักศึกษาสนใจศึกษา และร่วมประเมินผลการนำเสนองานของเพื่อนร่วมชั้น โดยการถามตอบและมีการให้ข้อคิดเห็น สามารถประเมินตนเองได้ในการเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ มอบหมายให้นักศึกษาเป็นผู้นำเวทีและจัดการในระหว่างการนำเสนอปากเปล่าในโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ มอบหมายให้นักศึกษาเป็นผู้นำเวทีและจัดการในระหว่างการนำเสนอปากเปล่าในโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบสัมมนา นำเสนอผลงานการศึกษาหัวข้อ โครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ นักศึกษาสนใจศึกษา และร่วมประเมินผลการนำเสนองานของเพื่อนร่วมชั้น โดยการถามตอบและมีการให้ข้อคิดเห็น การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการสืบค้นผลงานวิจัยจากเอกสารวิชาการจากสื่อสิ่งพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติ และเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ การสอนแบบสัมมนาเชิงวิชาการในการนำเสนอผลงานเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ในรูปของการนำเสนอแบบปากเปล่าด้วยสื่อต่างๆ และรูปเล่มโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ การสอนแบบสัมมนาเชิงวิชาการในการนำเสนอผลงานเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ในรูปของการนำเสนอแบบปากเปล่าด้วยสื่อต่างๆ และรูปเล่มโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ การสอนแบบสัมมนาเชิงวิชาการในการนำเสนอผลงานเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ ในรูปของการนำเสนอแบบปากเปล่าด้วยสื่อต่างๆ และรูปเล่มโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ
1 MSCPT701 สัมมนาพืชศาสตร์ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1, 3 และ 5 การสังเกตพฤติกรรมการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายและจริยธรรมและจรรยาบรรณในการสืบค้นบทความทางวิชาการและเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ 1 - 16 20
2 2, 3, 4 และ 5 การวัดทักษะการปฏิบัติงานค้นคว้าสืบค้น และวิเคราะห์ข้อมูลการสืบค้น และการประมวลผลข้อมูลจากบทความทางวิชาการด้านเพืชศาสตร์ที่สอดคล้องกับหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ 3-6 30
3 4 และ 5 การวัดผลงานเขียนรายงานสัมมนาโครงร่างวิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระตามข้อกำหนดของหลักสูตร 7-14 25
4 5 และ 6 การวัดทักษะการนำเสนอรายงานโครงร่างวิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระรแบบปากเปล่าโดยการใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ถูกต้อง และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 15-16 25
1.1  กัลยา  วานิชย์บัญชา. 2553.  สถิติสำหรับงานวิจัย.  สำนักพิมพ์ซีเอ็ดบุ๊คเนเตอร์. 317  หน้า
  1.2  สำนักทะเบียนและวัดผล มทร.ล้านนา.2561. ขั้นตอนการจัดทำวิทยานิพนธ์   บัณฑิตศึกษา
                สำนักงานทะเบียนและวัดผล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  เข้าถึงได้จาก 
                http://swct.rmutl.ac.th/academic/master/
2.1   CABI : http://www.cabi-publishing.org/AtoZ.asp?Category=Journals เป็น
               ฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ (Full Text)
2.2  AO : http://wwwlib.umi.com/dissertations/search เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและ
          บทคัดย่อด้านการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง
2.3 Thai Patents : http://www.ipic.moc.go.th/ เป็นฐานข้อมูลสิทธิบัตรไทย
2.4 ฐานข้อมูลบรรณานุกรมรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (วช.) :
http://www.riclib.nrct.go.th/ เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและบทคัดย่อ
2.5 การสืบค้นข้อมูลโครงการวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) : http://www.riclib.nrct.go.th/ เป็นให้ข้อมูลบรรณานุกรม รายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์ ประมาณ 100,000 ชื่อเรื่อง
2.6 ฐานข้อมูลงานวิจัยของประเทศไทย : http://www.nstda.or.th/grants/ เป็นแหล่งข้อมูลที่รวบรวมผลงานวิจัยของประเทศ เพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนรวมทั้งให้บริการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต

สมคิด พรมจุ้ย.  2558.  โครงการวิจัย : เขียนอย่างไรให้มีคุณภาพ. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1   (ม.ค. – มิ.ย.) 2558  น. 40-58
   3.1. TIAC Reference Databases (เว็บไซต์ http://www.tiac.or.th/searchorder1_db_od.html)                                  
   3.2 Document Delivery Service (เว็บไซต์ http://www.tiac.or.th/search-order1_odall. html)    3.3 Library Catalog (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/library-catalog_eng1.html)    3.4.Journals : Thai and English http://www.tiac.or.th/search-order1_e-journal.htm)    3.5. Thai Theses Database (เว็บไซต์คือ http://thesis.tiac.or.th)     3.6.  ฐานข้อมูลวิจัยของประเทศไทย (เว็บไซต์คือ http://www.thairesearch.in.th) Seminar and Training (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/seminar-training1_eng.html) Service Hours (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/contact-tiac1_service%20hours.html) ฐานข้อมูลจดหมายเหตุดิจิทั http://www.tiac.or.th/darchive/danstda_main.html
    1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้และปฏิบัติการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ
    1.2 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
2.1 ผลตอบรับ การให้ความสนใจในชั้นเรียนจากผู้นักศึกษา
2.2 ผลการเรียนและความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักสากลในการเขียนและนำเสนอโครงร่างวิทยานิพน์/การค้นควิอิสระของนักศึกษา
3.1 การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์ผู้ร่วมสอนเรื่องการจัดการเรียนการสอน
 3.2 การปรับตามมติที่ประชุมของอาจารย์ผู้ร่วมสอนหรือผลประเมินจากนักศึกษา
4.1 มีการทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ที่ไม่ได้เป็นทีมร่วมสอน หรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่ อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
   5.1 ดำเนินการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล
   5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีหรือตามข้อเสนอแนะตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในรายวิชา หรือ อาจารย์ผู้สอนที่รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธการสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อ พิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป