นันทนาการ

Recreation

1.  มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนันทนาการ
2.  มีทักษะพื้นฐานในการจัดกิจกรรมนันทนาการ
3.  สามารถเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม
4.  ตระหนักในคุณค่าของกิจกรรมทางนันทนาการเพื่อพัฒนาร่างกาย  จิตใจ อารมณ์และสังคม
เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) และแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
              ศึกษาความรู้ทั่วไป  ปฏิบัติเกี่ยวกับกิจกรรมนันทนาการ  การจัดกิจกรรมนันทนาการ 
และเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม
 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในช่วงเวลาทำงาน (Office Hours) (เฉพาะรายที่ต้องการ)
  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม    มีวินัย  ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
 1. กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับวินัย และพฤติกรรมในการเรียน
 2.  สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในคาบเรียน
 3.  เน้นการมีจิตสำนึก การรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมและการแต่งกายของนักศึกษา
2 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมนันทนาการ  การจัดกิจกรรมนันทนาการ 
และเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม ให้ได้รับความรู้ตามคุณสมบัติของหลักสูตร (2.1)
บรรยายและฝึกปฏิบัติ  มอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติ
1.  ทดสอบปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ 
2.  สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบข้อเขียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ที่สอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตร (3.1)
มอบหมายให้นักศึกษาทำการค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บไซต์  สื่อการสอน e-learning และสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน     
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบข้อเขียนที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ในเนื้อหาตามที่เรียน
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม (4.2)
2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (4.3)
1. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม
2. การนำเสนอและอภิปราย
1. สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา
2. ตรวจสอบผลงานที่นำเสนอของนักศึกษา
พัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย  ตามคุณสมบัติของหลักสูตร (6.1 + 6.2 + 6.3)
1. ฝึกปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการ
2. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมนันทนาการ 
1. ทดสอบการปฏิบัติการเป็นผู้นำนันทนาการ
2. ทดสอบการปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายครบตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ตลอดภาค การศึกษา 10%
2 ด้านความรู้และปัญญา สอบปลายภาคด้วยข้อสอบข้อเขียน 17 20%
3 ด้านทักษะความสัมพันธ์ มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ด้านทักษะปฏิบัติ ทดสอบปฏิบัติการเป็นผู้นำนันทนาการ ทดสอบปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ 8 และ 16 60%
เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย. การนันทนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
กรมพลศึกษา. คู่มือผู้นำนันทนาการ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2557.
https://www.dpe.go.th/manual-files-39289179193
1.1 สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 ใช้แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 สังเกตจากการสอนของผู้ร่วมทีมการสอน
2.2 ประเมินจากผลการสอบของผู้เรียน
3. 1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3. 2 จัดทำวิจัยในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
4. 1 ทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ประจำหลักสูตร
4. 2 ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนงานที่มอบหมาย และการให้คะแนนพฤติกรรม 
5. 1 ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษาที่เปิดเรียน หรือ ตามข้อเสนอแนะ
5. 2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองกว้างไกล