หลักมูลของฟิสิกส์ 2

Fundamentals of Physics 2

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจหลักพื้นฐานทางฟิสิกส์ตามหัวข้อต่างๆ ในคำอธิบายรายวิชา 1.2 แก้ปัญหาทางฟิสิกส์ และประยุกต์วิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรกับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้ 1.3 มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา - เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชานี้ ไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเนื้อหา ตัวอย่างอ้างอิงเพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า สนามแม่เหล็กและการเหนี่ยวนำ สภาพนำยิ่งยวด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ท่อนำคลื่น เส้นใยนำแสงและการประยุกต์ใช้งาน บทนำสู่ฟิสิกส์ยุคใหม่ Electric field and Potential, Electric current and Electric circuits, Magnetic field and Induction, Superconductivity, Electromagnetic wave, Wave guide, Fiber optic and its Applications, introduction to Modern physics.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน 2.กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1.กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน 2.ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1.บรรยาย ครอบคลุม เนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมหรือศึกษาด้วยตนเอง
1.จากการสอบและงานที่มอบหมาย
1.มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ยกตัวอย่างที่เหมะสมในระหว่างการบรรยาย
2. พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบและมีการวิเคราะห์ปัญหา
3. เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม เพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษาในชั้นเรียน
1.ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือการตอบคำถามในระหว่างการเรียนการสอน
1.สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
1.สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1.นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
6.1.1 มีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
6.1.2 มีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนในการแกไขโจทย์ปัญหาได้ 
 
6.2.1 ทำการสอนโดยเน้นฝึกการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
6.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาทำในระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์
6.3.1 ประเมินผลจากคะแนนงานที่ได้รับมอบหมายในระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 SCISC103 หลักมูลของฟิสิกส์ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ความรู้ ทดสอบระหว่างเรียน ตามความเหมาะสม 70%
2 - ทักษะทางปัญญา - ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 - คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร 1.2 Schaum’s outline series, Physics
2.1 คณาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 ฟิสิกส์ 2 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.2 รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์ , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย 2.3 R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอนการสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน โดยมีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอน จากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
3.3 รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยทำการสำรวจเบื้องต้นจากผลการประเมินการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2 ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
4.3 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมินพฤติกรรม
5.1 นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองพัฒนาความคิดที่หลากหลาย