เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช

Plant Propagation Technology

             1.1) รู้ความหมาย ประวัติ วัสดุอุปกรณ์และหลักการขยายพันธุ์พืช
          1.2) เข้าใจปัจจัยที่มีผลต่อการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่างๆ
          1.3) เข้าใจวิธีการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่างๆ
          1.4) พิจารณาเลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับชนิดของพืชและสภาพแวดล้อม
          1.5) มีทักษะในการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีต่างๆ
          1.6) มีเจตคติที่ดีต่อการขยายพันธุ์พืช
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ เครื่องมืออุปกรณ์ในการขยายพันธุ์พืช ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการขยายพันธุ์พืช การขยายพันธุ์พืชวิธีต่างๆ การดูแลรักษาต้นพันธุ์ที่ทำการขยายพันธุ์แล้ว การใช้สารเคมีและเทคนิคต่างๆ ในการขยายพันธุ์พืช
 
อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาตามตารางที่เขตพื้นที่ระบุในปฏิทินการศึกษา    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
˜3.2.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
š3.2.1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
-กระทำตนเป็นแบบอย่างในการมีวินัย ตรงต่อเวลาและปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
-  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายคือแปลงผลิตพืชและการแสดงออกต่อส่วนรวมดังนี้
1 ระบุขั้นตอนการผลิตที่ให้ผลผลิตปลอดภัย
2 ทำกิจวัตรในการเรียนสม่ำเสมอ
3 มาสอบตรงเวลา
4 อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกันมีการใช้อุปกรณ์ คืน และเก็บเข้าที่ให้เป็นระเบียบ
5 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜3.2.2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
š  3.2.2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ    การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)    

การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion
1 การนำเสนองาน
2 ข้อสอบอัตนัย
3 ข้อสอบปรนัย
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.2.3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
 ˜ 3.2.3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
š3.2.3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ    การสอนแบบปฏิบัติ 

3  แนะนำแหล่งในการหาความรู้เพิ่มเติมที่เหมาะสม
-  ประเมินจากรายงานหรือการนำเสนอที่มีการหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
3.2.4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
š3.2.4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1 กิจกรรมกลุ่ม
สังเกตการทำงานกลุ่ม
-มีการวางแผนร่วมกัน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
š3.2.5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
š3.2.5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point  
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการนำเสนองานด้วยวาจา
การนำเสนองานที่มีเนื้อหาทันต่อเหตุการณ์และใช้สื่อที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ทักษะทางปัญญา ด้านทักษะ พิสัย ความรู้ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 1 1 2 1 2 1 2
1 BSCAG106 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1., 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ 9 17 ทุกสัปดาห์และ 16 25 20 35
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
 

หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก

1. นันทิยา  วรรธนะภูติ.  2542.  การขยายพันธุ์พืช พิมพ์ครั้งที่ 3  โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์,  กรุงเทพมหานคร.  448 หน้า
2. สนั่น  ขำเลิศ.  2541.  หลักและวิธีปฏิบัติการขยายพันธุ์พืช.  สำนักพิมพ์รั้วเขียวม  กรุงเทพมหานคร.  207 หน้า
3. Hartmann,H.T.; Kester,D.E.; Davies,F.T.,Jr. and R.L.Geneve.  1997.  Plant  Propagation Principles and Practices.  (6th edition)  PrenticeHall Inc,. U.S.A.  772 p.
 

 

 
1. คำนูณ  กาญจนภูมิ  2542  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  กรุงเทพมหานคร  162 หน้า
2. พีรเดช  ทองอำไพ  2529  ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย  ห้างหุ้นส่วนจำกัดไดนามิคการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร  196 หน้า
3. มงคล  แซ่หลิม  2536 ปฏิบัติการเทคนิคการขยายพันธุ์ไม้ผล ใน เทคนิคการขยายพันธุ์พืช  ภาควิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  สงขลา
4. รังสฤษดิ์  กาวีต๊ะ  2540  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช:หลักการและเทคนิค  สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตบางเขน  กรุงเทพมหานคร  219 หน้า
5. อรดี  สหวัชรินทร์ 2539 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อักษรสยามการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร 49 หน้า 
เอกสาร และข้อมูลแนะนำ

1. ประทีป  กุณาศล 2539 ขยายพันธุ์ไม้ผลด้วยวิธีปักชำในแปลงพ่นหมอก  เคหการเกษตร 20: 51
2. ยิ่งยง  ไพสุขศานติวัฒนา  2539  การตัดชำและการตอน ใน    เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการขยายพันธุ์พืช หน้า37  ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน นครปฐม
3. สุรีรัตน์  ทวนทวี และ เมืองทอง  ทวนทวี  2539  ขยายพันธุ์พืชโดยรูปภาพ  ห้างหุ้นส่วนจำกัดไพศาลการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร  92 หน้า
4. อารีย์  วรัญญูวัฒก์  2541  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช  โรงพิมพ์อสรรค์  กรุงเทพมหานคร 133 หน้า
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบของมหาวิทยาลัย ฯลฯ
1.1  ประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน 
1.2  ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
1.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2  ผลประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน
การปรับปรุงการสอน โดยเพิ่มเทคนิคการขยายพันธุ์ในพืชชนิดต่าง ๆ และปรับปรุงสื่อการสอนให้มีศัพท์เทคนิคมากขึ้น เป็นรายวิชาในหลักสูตร 2560
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา การทดสอบภาคปฏิบัติและสัมภาษณ์นักศึกษาโดยการสุ่ม
ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะจากผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4