การออกแบบลวดลายเซรามิก

Ornamental Design for Ceramic

เข้าใจแนวคิดในการออกแบบลวดลายและการใช้สี เข้าใจหลักการออกแบบลวดลายและการใช้สี มีทักษะออกแบบลวดลายและใช้สีให้สัมพันธ์กับรูปทรงและการตกแต่ง มีทักษะในการตกแต่งลวดลาย และใช้สีบนผลิตภัณฑ์เซรามิก เห็นคุณค่าของการออกแบบลวดลายและการใช้สี เพื่อการตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการออกแบบลวดลายและการใช้สี เพื่อให้สัมพันธ์กับรูปทรงและการตกแต่ง เพื่อให้เป็นไปตามตลาดความต้องการสินค้าและประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบลวดลาย และการใช้สีหลักการออกแบบลวดลายและการใช้สี  ความสัมพันธ์ของลวดลายและสีกับรูปทรง และการตกแต่ง กระบวนการตกแต่งลวดลายและใช้สีผลิตภัณฑ์เซรามิก
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2.มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3.มีวิจัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
               2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
               2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
               2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  สาธิต ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   สาธิตการแบ่งส่วนต้นแบบ และการใช้สี
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบลวดลายวิธีต่างๆ
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 44020302 การออกแบบลวดลายเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สอบกลางภาค สอบปลายภาค การปฏิบัติงานและผลงาน การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด สอบกลางภาค สัปดาห์ที่8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคเรียน การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคเรียน การแต่งกาย ตลอดภาคเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน สอบกลางภาค 15% สอบปลายภาค 15% การปฏิบัติงานและผลงาน 60% จิคพิสัย 10%
1. เฉลียว  ปิยะชน. (2544). มรดกเครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพฯ :เมืองโบราณ.
2. ทรงพันธ์  วรรณมาศ. (2532). เครื่องปั้นดินเผา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
3. ปรีดา  พิมพ์ขาวขำ.(2541).  เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
4.ไพจิตร  อิ่งศิริวัฒน์. (2541).เนื้อดินเซรามิก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
5. สุขุมาล  เล็กสวัสดิ์. (2548). เครื่องปั้นดินเผา พื้นฐานการออกแบบและปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
6.Artes Y Oficios. (1994). Pottery : A Step By Step Guide To The Craft of Pottery. London : Merehurst Books
7.Bismarck, Beatrice von. (1993). Impressionist art vol.II. Germany : Ingo F. Walther
8.Brick, Tony.(1996). The Complete Potter’s Companion. Hongkong :  Conran Octopus.
9.Chappell, James. (1991). The Potter’s Complete Book of Clay and Glaze. (rev. edit). Newyork: Watson-Guptill Publications
10.Espi, Lorette. (1993). Step-By-Step and Ceramics : A Creative.Newyork : Crescent Books
11. Sentence, Bryan.(2004). Ceramics : A Word Guide To Traditional Techniqes. London : Thames & Hudson.
12.Susan Peterson.(1992). “The Complete Pottery Course “ London : Ebury Press.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์