การบัญชีชั้นสูง 1

Advanced Accounting 1

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจฝากขาย ธุรกิจขายผ่อนชำระ สัญญาเช่า การบัญชีสำนักงานใหญ่สาขาและตัวแทนทั้งในและต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศและการแปลงค่างบการเงิน   การบัญชีเกี่ยวกับสัญญาก่อสร้าง การจัดทำงบการเงินจากรายการที่บันทึกไว้ไม่สมบูรณ์  และการบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้กิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน การบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจฝากขาย ธุรกิจขายผ่อนชำระ สัญญาเช่า การบัญชีสำนักงานใหญ่สาขาและตัวแทนทั้งในและต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศและการแปลงค่างบการเงิน   การบัญชีเกี่ยวกับสัญญาก่อสร้าง การจัดทำงบการเงินจากรายการที่บันทึกไว้ไม่สมบูรณ์  และการบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้กิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน การบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร
7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1). ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2). ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
3). ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4). สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการ
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆโดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์รและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง       
1). ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิดหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยายและอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2). มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน
1). ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน การค้นคว้า และการนำเสนอ
2). การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ
สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่างๆอย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
1). ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือ สถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย
2). ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญา
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
1).  มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
2). มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1). ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2). ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยเวลาในการส่งงาน
3). สังเกตุพฤติกรรมในชั้นเรียน
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
1). มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1, 2.2 การทดสอบย่อยครั้งที่ 1 การสอบกลางภาค การทดสอบย่อยครั้งที่ 2 การสอบปลายภาค 3 9 11 17 10% 30% 10% 30%
2 1.2, 2.3, 2.4, 3.2, 4.2 การวิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.2, 2.4, 3.2, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
กัญนิภัทธิ์ นิธิโรจน์ธนัท, ศิริรัตน์ พ่วงแสงสุข, และ นันทนา แจ้งสว่าง. (2560). การบัญชีชั้นสูง 1. กรุงเทพฯ:   
          วิทยพัฒน์.
ดลกณิศ เต็งอำนวย. (2558). รู้บัญชีขั้นสูง (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาควิชาบัญชี คณะบริหารธุรกิจ          
          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วรศักดิ์ ทุมมานนท์ และ ณัฐวุฒิ  สุวรรณยั่งยืน. (2557). การบัญชีขั้นสูง 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์               
          จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
              วิศรุต ศรีบุญนาค, พิมพ์พนา ปีตธวัชชัย , และ ณัฐชานนท์ โกมุทพุฒิพงศ์. ( 2554). ตราสารอนุพันธ์ : การวัด
                        มูลค่า การรับรู้และการบัญชีป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ. กรุงเทพฯ:     .
                        สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิลปพร  ศรีจั่นเพชร และ อนุวัฒน์  ภักดี. (2561). การบัญชีชั้นสูง. กรุงเทพฯ:
          ห้างหุ้นส่วน ทีพีเอ็น เพรส.
  มาตราฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 9     การวัดมูลค่าและการรับรู้รายการเครื่องมือทางการเงิน
              มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15     รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า
              มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16     สัญญาเช่า
 
        ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางวิชาชีพบัญชี ประกาศเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน  และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องซึ่งได้จากเว็ปไซต์ต่อไปนี้
           www.fap.or.th
           www.set.or.th
1.    กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ใช้การทดสอบปฏิบัติในแต่ละบท
2.    กลยุทธ์การประเมินการสอน
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิท ยาลัยในระบบออนไลน์
3.    การปรับปรุงการสอน
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจถึงหลักการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
4.    การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ให้กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ เป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบ และ การตัดเกรด
5.    การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
นำเสนอข้อสอบ และการตัดเกรด  ก่อนที่จะมีการสอบและการประกาศผล
นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2  ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน 
วิธีการประเมิน 
และ เนื้อหารายวิชา