การออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม

Innovative Crafts Design

1.1 เพื่อให้ผู้เรียนรู้กระบวนการและแนวคิดในการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม 1.2 เพื่อให้ผู้เรียนรู้และวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่องานออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม 1.3 เพื่อให้ผู้เรียนหาแนวทางเลือกใช้และวิเคราะห์วัสดุในงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม อย่างเหมาะสม 1.4 เพื่อให้ผู้เรียนหาแนวทางเลือกใช้และวิเคราะห์กระบวนการผลิตงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม อย่างเหมาะสม 1.5 เพื่อให้ผู้เรียนสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรมได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของสังคม 1.6 เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของงานออกแบบหัตถกรรมงานหัตถกรรมเชิงนวัต  
เพื่อใช้เป็นแนวทางการสอนในรายวิชาการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม ให้มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับบริบทสังคมปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการและแนวคิดในการออกแบบเชิงลึก และปัจจัยรายล้อมที่มีผลกระทบต่อการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม วัสดุและกระบวนการผลิต ปฏิบัติการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม เน้นการบุกเบิกสร้างงานหัตถกรรมไปสู่แนวทางใหม่
 
1 ชั่วโมงโดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
 
1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต  2) มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  3) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  4) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ  
1) ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย คุณธรรม และจริยธรรม โดยเน้นเรื่องความรับผิดชอบส่วนบุคคลโดยการสอดแทรกไว้ในชั่วโมงเรียน  2) ฝึกและกระตุ้นให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม เป็นผู้นำกลุ่ม และเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี   3) ฝึกและกระตุ้นให้นักศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ งานออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม  4) ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายเชิงวิชาการ และความคิดเห็นต่างๆ   
1) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2) การมีส่วนร่วมในการอภิปราย หรือกิจกรรมเสริมหลักสูตร  
1) มีความรู้ ความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับงานหัตถกรรมในบริบทท้องถิ่นของตนเองเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาไปสู่หัตถกรรมเชิงนวัตกรรม  2) มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม  3) สามารถบูรณาการความรู้เรื่องวัสดุ และกระบวนการผลิต เพื่อการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง  
1) บรรยาย อภิปราย ในชั้นเรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
 2) กระตุ้นให้นักศึกษาได้ค้นคว้าเอกสาร ตำรา สื่อออนไลน์ต่างๆ เพิ่มเติม  
1) สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการหรือทฤษฏี และความคิด
เชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์  2) วิธีการปฏิบัติงานตามกระบวนการอย่างถูกต้อง  3) ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของผลงาน และการนำเสนอความคิด
1) การคิดหาเหตุผลอย่างมีระบบ แบบแผน เข้าใจที่มาของแนวคิด แรงบันดาลใจ และการปฏิบัติงานถูกต้องตามกระบวนการ  2) รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ด้านหัตกรรมเชิงนวัตกรรม  
1)   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา  2)  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา  3) การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม  
1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม 2) ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จากงานที่มอบหมาย 3) สังเกตจากพฤติกรรมการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา  
1)  การมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2) การมีความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ของตนเองมาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
1) มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  2) การนำเสนอรายงาน และอภิปรายร่วมกัน  
1) ประเมินผลจากรายงานที่นำเสนอ และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 2) ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย 3) พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่มและการช่วยเหลือกัน  
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม 3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2) นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
1) ประเมินผลจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2) ประเมินผลจากมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย  
1) มีทักษะด้านการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม และใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองและสามมิติ  2) มีทักษะในการวิเคราะห์ สังเคราะห์งานออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม  3) มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ โดยพิจารณาในเรื่องความสวยงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
1) มอบหมายงานให้ปฏิบัติงาน
 2) ให้นักศึกษาเสนอและวิเคราะห์งานหัตถกรรมเชิงวัฒนธรรม  
1) ประเมินผลจากแนวคิดการออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม  2) ประเมินผลจากผลงานการออกแบบและงานสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม  3) ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และอภิปราย
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 MAAAC106 การออกแบบงานหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม -สอบกลางภาค -สอบปลายภาค -วิธีการปฏิบัติงานตามกระบวนการอย่างถูกต้อง ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของผลงาน และการนำเสนอความคิด 9 17 ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10 ร้อยละ 10 ร้อยละ 5
2 ทักษะทางปัญญา - สอบกลางภาคและปลายภาค - ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จากโครงงาน สังเกตจากพฤติกรรมการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 17 ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
3 ทักษะทางปัญญา - สอบกลางภาคและปลายภาค - ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จากโครงงาน สังเกตจากพฤติกรรมการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 17 ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ประเมินผลจากรายงานที่นำเสนอ และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 2) ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย 3) พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่มและการช่วยเหลือกัน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 5
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ประเมินผลจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2) ประเมินผลจากมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 5
6 ทักษะพิสัย 1) ประเมินผลจากแนวคิดการออกแบบ 2) ประเมินผลจากผลงานการออกแบบ ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 45
การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย,2540. “ช่างสิบหมู่”. กรุงเทพฯ:มปท. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2553. “การคิดเชิงสร้างสรรค์ Creative thinking”. กรุงเทพฯ : ซัคเซส    มีเดีย.  คมสัน สุริยะ และ คนอื่นๆ, 2551.“การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกในแนวล้านนาร่วมสมัย”.    รายงานการ            วิจัย สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.พิมพ์ครั้งที่ 1 เชียงใหม่ : โรง    พิมพ์ เอส ที ฟิมล์ แอนด์เพลท. โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย,2542. “มรดกช่างศิลป์ไทย”. กรุงเทพ : องค์การค้าของ คุรุสภา, ๒๕๔๒. หน้า 45-93 ทบวงมหาวิทยาลัย,2540. “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการทำนุบำรุง    ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ศึกษาเฉพาะงานศิลป           หัตถกรรม”.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นวลน้อย  บุญวงษ์,2542.“หลักการออกแบบ”.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปริวิทย์ ไวทยาชีวะ, 2551,“การศึกษากระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ของช่างพื้นเมือง    เชียงใหม่ ในการทำตุงล้านนาด้วยวิธีการฉลุลาย   กระดาษ”.วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์    มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. “ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน”.(ออนไลน์),สืบค้นจาก www.panyathai.or.th/wiki/index.php (วันที่    สืบค้น 12 กันยายน 2554)
 
เนื้อหาเกี่ยวกับรูปแบบหัตถกรรมทั้งในและต่างประเทศ
3.1 เอกสารวิชาการ หนังสือ และเว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.2  แหล่งเรียนรู้ แผ่นพับ พิพิธภัณฑ์ ฯลฯ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 1.1    การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา   
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้