การค้นคืนระบบสารสนเทศ

Information Retrieval

นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้  ความเข้าใจในด้านการค้นคืนระบบสารสนเทศ


นักศึกษามีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูล  ขั้นตอนการค้นคืนสารสนเทศ  การวิเคราะห์จัดหมวดหมู่เอกสารแบบอัตโนมัติ  และสามารถประเมินผลการค้นคืน  นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษาต่างๆทำให้ทราบถึงความทันสมัยของระบบ และความสอดคล้องของรายละเอียด เนื้อหารายวิชากับเทคโนโลยีในปัจจุบัน


เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้เกี่ยวกับการค้นคืนระบบสารสนเทศ
          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  แนวคิดของระบบการค้นคืนสารสนเทศ ขั้นตอนวิธีในการค้นคืนสารสนเทศ การวิเคราะห์เทคนิคสำหรับการจัดหมวดหมู่ และการเก็บเอกสารอัตโนมัติ กลยุทธ์ในการค้นคืน ความน่าจะเป็นของการค้นคืน และการประเมินผลของการค้นคืนสารสนเทศ
          ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างแฟ้มข้อมูล แนวคิดของระบบการค้นค้นสารสนเทศ  ขั้นตอนวิธีในการค้นคืนสารสนเทศ ตัวแบบการค้นคืนสารสนเทศแบบต่างๆ การวิเคราะห์เทคนิคสำหรับการจัดหมวดหมู่ และการเก็บเอกสารอัตโนมัติ กลยุทธ์ในการค้นคืน ความน่าจะเป็นของการค้นคืน และการประเมินผลของการค้นคืนสารสนเทศ
           The study practice of data file structures, concepts of information retrieval, information retrieval procedures, various information retrieval models, analysis of classification and automatic document storage techniques and retrieval strategies, retrieval probability, and evaluation of information retrieval.
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้
วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้องพักอาจารย์ประจำสาขา โทร. 08-9637-7610 e-mail: aompat@rmutl.ac.th
หรือ Facebook กลุ่มวิชา IR2561
   1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
 1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
   1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
˜1.5 คารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
   1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม
   1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนและส่งงานตามกำหนด
2.ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ และการลอกงานผู้อื่น
3.ประเมินการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และการพัฒนาตนเอง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด
˜2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
˜2.5 รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
˜2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆที่เกี่ยวข้อง
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
˜2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.ประเมินผลสัมฤทธิ์โดยการสอบ
2.ประเมินจากรายงานและการนำเสนอ
3.วิเคราะห์กรณีศึกษา หรือโครงงาน
4.แบบฝึกหัด
š3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
˜3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
˜3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
˜3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  
1.ประเมินโดยการสอบ
2.ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้า หรือโครงงาน
3.ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
    4.1 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
    4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
š4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
š4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
š4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
1.ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการร่วมกิจกรรมและการนำเสนอผลงาน
˜5.1 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
    5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคอมพิวเตอร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
š5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
š5.4 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
1.ใช้  Power point  
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ประเมินจากรายงานการค้นคว้า หรือโครงงาน
2.ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ (Knowledge) 3.ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆที่เกี่ยวข้อง 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคอมพิวเตอร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
1 12032312 การค้นคืนระบบสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 1 4 14%
2 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การสอบกลางภาค, บทที่ 2 และบทที่ 3 9 24%
3 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 4 14 10%
4 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การสอบปลายภาค, บทที่ 5, บทที่ 6 และบทที่ 7 18 32%
5 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 งานที่มอบหมาย 1-8, 10-17 10%
6 1.3, 4.1 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบในรายวิชา 1-8, 10-17 10%
นิศาชล จำนงศรี 2556. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 204312  การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ประสงค์ ประณีตพลกรัง และคณะ.  2541.  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.  กรุงเทพฯ :  ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
พรพรรณ ประชาพิพัฒ. 2546 .  การจัดระบบสารสนเทศ.  กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง. 2557. การค้นคืนระบบสารสนเทศ. น่าน : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
พัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง. 2562. สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้. น่าน : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
ศุภชัย ตั้งวงศ์ศานต์.  2551.  ระบบการจัดเก็บและการสืบค้นสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิทักษ์การพิมพ์.
สุกัญญา  กุลนิติ.  2549.  ห้องสมุดและสารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า.  กรุงเทพฯ : โอเดียนโตร์.
สุนีย์ เลิศแสวงกิจ และพิศิษฐ์ กาญจนพิมาย.  ห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : วังอักษร.
ชุลีรัตน์ จรัสกุลชัย.  2549.  การค้นคืนสารสนเทศสำหรับพานิชอิเล็กทรอนิกส์.  [ออนไลน์]     
                 แหล่งที่มา: http://library.tru.ac.th/ebook/srisupa/004/s004.html : Document Information Retrieval (13  พฤษภาคม 2560)
         สมชาย  หิรัญกิตติ.  2550  .  Search Strategy.  [ออนไลน์] แหล่งที่มา :
                     http://www.nectec.or.th/courseware/royal-project/index.html   : Document Information Retrieval (13 พฤษภาคม 2560)
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์  , งานวิจัยใน Thailis
1.1  อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะการเรียนการสอนในรายวิชานี้ เขียนลงบนกระดาษที่แจกให้ในชั้นเรียน
1.2  ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
2.1  ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
3.1  แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา
3.2  แก้ไขข้อบกพร่องจากข้อเสนอแนะจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาในชั้นเรียน
3.3  การทำวิจัยในชั้นเรียน (ถ้ามี)
4.1  ทวนสอบคะแนนสอบของนักศึกษาตามจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วยเรียน
4.2  ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษาตามจุดประสงค์กนสอนแต่ละหน่วยเรียน
5.1  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินผู้สอน จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
5.2  วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)