ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร

Chinese for Communication

1. เพื่อให้ผู้เรียนรู้ลักษณะโครงสร้างในระบบสัทอักษรภาษาจีน 2. เพื่อให้ผู้เรียนรู้คำศัพท์ และสำนวนภาษาจีนเบื้องต้น 3. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกทักษะการฟัง การพูด และการอ่านภาษาจีนเบื้องต้น 4. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาจีน
 
ศึกษาและฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนในสถานการณ์ที่ต่างกัน และศึกษาวัฒนธรรมการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ฝึกทักษะในการสื่อสาร เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และเทศกาลของประเทศจีน
อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการทุกวันพุธ เวลา 15.00 – 17.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาศิลปศาสตร์ หรือ จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุรค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา อละความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
(1)จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
(3) สร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการทํางานกลุ่ม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและปลูกฝังจิตสํานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(4) ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพในคณุ ค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นําและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทําความดีและเสียสละ
(1) การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) การตรงเวลาของนักศกึษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
(3) การสังเกตพฤติกรรมในการทํางานเป็นกลุ่ม 
 
(1) มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆได้
 
(1) จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
(2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้
(3) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง (4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นําเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 
(1) ทดสอบย่อย
(2) สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) งานมอบหมาย
 
(1) มีทักษะในการปฎิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆโดยใช้บทบาทสมมติ และกรณ๊ศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไข
(1) บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
(2) การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่างๆ
(3) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(4) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองคืกรได้เป็นอย่างดี
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
(5) มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม
(6) มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย
(1) พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
(2) พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการร่วมกิจกรรม
(1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่สาร
(2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล
(3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
(4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสังคม
 
(1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่สาร
(2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล
(3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
(4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสังคม
(1) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่สาร
(2) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล
(3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
(4) ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสังคม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 3.ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBLC301 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1/2.2.1/2.2.4/2.3.1/2.3.2/2.3.4 - ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 - ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 - ทดสอบย่อยครั้งที่ 3 - ทดสอบย่อยครั้งที่ 4 - สอบกลางภาคเรียน - สอบปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 12 สัปดาห์ที่ 15 สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 10% 5% 10% 10% 20% 15%
2 1.1.3/1.1.4/1.2.1/1.3.3/2.3.2/4.2.2/4.2.3/5.2.1 - การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.3.2/2.3.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
ศิริภรณ์ บุญประกอบ. เอกสารคำสอนวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร. สาขาศิลปศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก.
เว็บไซต์ต่างๆทีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาตลอดจนแบบฝึกหัดออนไลน์
การประเมินผลของรายวิชาโดยนักศึกษากระทำโดย - การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา - ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้ - สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน - สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน - ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา - ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดในลักษณะของงานกลุ่ม การสอบพูดรายบุคล โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้า หรือไม่มีการพัฒนา จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง