อุณหพลศาสตร์

Thermodynamics

หลังจากเรียนวิชานี้แล้วนักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้

สามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ เพื่อให้เข้าใจในกฏข้อต่างๆของเทอร์โมไดนามิกส์  เพื่อให้เข้าใจในเรื่องของงานและความร้อน เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับพลังงานระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่และสภาวะคงที่ เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับเอนโทรปี เพื่อให้เข้าใจในหลักการของพื้นฐานการถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูปพลังงาน เพื่อให้เข้าใจในระบบของเครี่องยนต์ความร้อน เครื่องทำความเย็นและปั๊มความร้อน
เพื่อให้การปรับปรุงมีเนื้อหาสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร์ กฎข้อศูนย์ กฎข้อหนึ่ง  และกฎข้อสอง ของอุณหพลศาสตร์ ก๊าซอุดมคติ งานและความร้อน พลังงานระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่และสภาวะคงที่ ที่มีการไหลสม่ำเสมอและสภาวะสม่ำเสมอ กระบวนการต่างๆของอุณหพลศาสตร์ วัฏจักรคาร์โน  เอนโทรปี พื้นฐานการถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูปของพลังงาน เครื่องยนต์ความร้อน เครื่องทำความเย็น ปั๊มความร้อน
1
แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เช่นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
ประเมินด้านจิตพิสัยของนักศึกษา เช่น การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ประเมินจากรายงานการกระทำทุจริตในการสอบ การมีมารยาททางวิชาการ และการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อของลักษณะรายวิชา โดย การวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามสภาพจริง ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม แล้วนำมาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ
ประเมินผลตลอดภาคเรียน ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ 
ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
ส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ประเมินพฤติกรรมจากการแสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
วิเคราะห์และแปลความหมายจากข้อมูลข่าวสาร
ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลความหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.3 2.1 2.2 3.1 4.1 5.2
1 TEDME934 อุณหพลศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 4.1 การเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.2, 3.1, 4.1 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1, 3.1, 5.2 ทดสอบย่อย 2-7, 9-16 10%
4 2.1, 3.1, 5.2 สอบกลางภาค 8 30%
5 2.1, 3.1, 5.2 สอบปลายภาค 17 30%
- Yunus A. Cengel, Michael A. Boles, Mehmet Kanoglu (2019). Thermodynamics An Engineering Approach Ninth Edition
-  Paper จากฐานข้อมูลต่างๆ
-  สมชัย อัครทีวา, ขวัญจิต วงษ์ชารี (2554). เทอร์โมไดนามิกส์ Thermodynamics 7/e
-  การประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา
          -  ผลการเรียนและผลการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
          -  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
          -  พิจารณาจากผลการเรียนของนักศึกษา
          -  พิจารณาจากการประเมินของนักศึกษา
          -  พิจารณาจากความเห็นของอาจารย์ประจำหลักสูตร
          -  ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา
          -  ทวนจากคะแนน และงานที่มอบหมาย
          -  นำผลการประเมินการสอนและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ มาพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอน