องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น

Introduction to Composition Art

   1.1 เข้าใจความหมาย ขอบข่ายของศิลปะ
   1.2 เข้าใจทัศนะธาตุทางศิลปะ และหลักการจัดองค์ประกอบ
   1.3 เข้าใจเทคนิคการสร้างสรรค์ศิลปะ
   1.4 มีทักษะในการออกแบบผลงานจากทัศนะธาตุทางศิลปะและการใช้หลักการจัดองค์ประกอบ
   1.5 ตระหนักและเห็นคุณค่าในสุนทรียศาสตร์ของการสร้างสรรค์ผลงาน
       เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในองค์ประกอบ หลักการจัดองค์ประกอบ และวิธีการจัดองค์ประกอบ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ไปเป็นพื้นฐานของรายวิชาด้านการออกแบบสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์และรายวิชาที่เกี่ยวข้องตลอดหลักสูตร
       ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ทัศนธาตุทางศิลปะและนำมาปฏิบัติในการจัดองค์ประกอบศิลปะตามหัวข้อที่กำหนดด้วยวัสดุและวิธีการที่หลากหลายประเภทต่างๆ โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการและการแสดงออกอย่างเหมาะสม
        - อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้คำปรึกษาทาง line ทาง Facebook และทาง email adress ของอาจารย์ผู้สอน
        - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการของผู้เรียน
        ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม กล้าแสดงความคิดเห็น สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
     บรรยาย พร้อมยกตัวอย่าง / ผู้เรียนเรียนเพิ่มเติมจากสื่อ Digital learning objects ที่ออนไลน์ใน e-learning บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เนตของมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนได้ตลอดเวลาตามความต้องการของผู้เรียน และแสดงความซื่อสัตย์ต่อการเรียนและการส่งผลงาน ผู้เรียนนำเสนอแนวความคิดในการออกแบบผลงานหน้าชั้นเรียน 
1.2.3 ฝึกปฏิบัติการออกแบบผลงานตามใบงานในแต่ละบทเรียน  การประเมินผลและจัดทำ e-portfolio
   1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามใบงานที่ให้และตรงเวลา
   1.3.2 การเข้าเรียนในสื่อออนไลน์ ซึ่งผู้สอนตรวจสอบได้จากระบบ
   1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอความคิดและแรงบันดาลใจในการทำงาน
   1.3.4 ผู้เรียนประเมินผลตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน   ประเมินผลจาก e-portfolio
        มีความรู้ในขอบข่ายของงานศิลปะ  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ องค์ประกอบ หลักการจัดองค์ประกอบ และวิธีการจัดองค์ประกอบ
        บรรยาย และจัดทำสื่อ Digital learning objects  14 บทเรียน ออนไลน์ใน e-learning บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เนตของมหาวิทยาลัย เป็นสื่อเสริม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตลอดเวลาตามความต้องการของผู้เรียน ผู้สอนใช้วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้รูปแบบวิธีการสอน คือการสอนตามทฤษฎี Constructivist  ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เข้าด้วยกันและนำมาสร้างสรรค์ผลงาน  ใช้การสอนแบบการเรียนรู้ร่วมกัน ( Collaborative )  ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง
   2.3.1 ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนในแต่ละบทเรียน มีการสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 
   2.3.2 ในส่วนของงานปฏิบัติ ประเมินจากผลงานโดยใช้เกณฑ์ให้คะแนนแบบ  Rubric Score ซึ่งผู้สอนได้จัดทำแผนการเรียนรู้ และประเมินจากการนำเสนอ Concept ในการออกแบบผลงานหน้าชั้นเรียน 
   2.3.3 ผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลงานของเพื่อน   
       พัฒนาความสามารถในการคิดออกแบบผลงานตามคำสั่งในใบงาน  ความสามารถในการสั่งสมประสบการณ์จากการศึกษาผลงานของผู้ที่มีประสบการณ์  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการเรียน จากสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนจัดทำ และการส่งงาน
   3.2.1 บรรยาย และให้โอกาสผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีเรียนรู้ด้วยตนเอง วางแผนการเรียนและการประเมินผลการเรียน การตรวจสอบผลการเรียนด้วยตนเอง
   3.2.2 การมอบหมายให้นำเสนอแนวคิด แรงบันดาลใจ ในการสร้างผลงาน เป็นการฝึกให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกและทวนสอบความซื่อสัตย์ของการปฏิบัติงาน
   3.2.3 มอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละคนจัดทำ e- portfolio รวบรวมและนำเสนอผลงานที่เรียนมาทั้งหมด
   3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ และผู้สอนให้โอกาสผู้เรียนสามารถขอแก้ไขงานเพื่อให้ได้รับคะแนนที่ดีที่สุด แสดงถึงความมุ่งมั่นและตั้งใจทำงาน
   3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
   3.3.2 วัดผลจากการคะแนนงานปฏิบัติและ การนำเสนอผลงาน
   3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเรียนทั้งเรียนในชั้นเรียนและเรียนด้วยสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนสามารถตรวจสอบได้จากระบบการบริหารจัดการ
   4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
   4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้พูดและผู้ฟัง
   4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
   4.1.4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีในการเรียน  การส่งงาน มีความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน  การทำ e-portfolio
   4.2.1 ให้ผู้เรียนปฏิบัติงานตามใบงาน
   4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น หาภาพงานศิลปะประเภทต่าง ๆ จากเว็บไซค์  และดาวน์โหลดมาจัดทำ เป็นไฟล์และส่งให้ผู้สอนทาง e-learning
   4.2.3 การนำเสนอ Concept และแรงบันดาลใจในการสร้างผลงาน
   4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน
   4.3.2 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
   4.3.3 ประเมินจากนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
   5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง
   5.1.2 พัฒนาทักษะในการเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เนตของมหาวิทยาลัย
   5.1.3 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การ Scan และ Upload ส่งงานทางอินเทอร์เนต  การสนทนาใน Msn  การแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ  ใน  Blog
   5.1.4 ทักษะในการนำเสนอผลงานที่ปฏิบัติ
   5.2.1 บรรยาย
   5.2.2 มอบหมายงานให้เรียนหาความรู้ด้วยตนเอง  จากสื่อ digital learning objects ซึ่งมีครบทุกบทเรียน แต่ละบทเรียนจะประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้  เอกสารอ่านประกอบ  วิดิโอคลิปสามมิติ  คำอภิธานศัพท์  คำถามสรุป  ใบงาน  และ  เว็บลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง ทบทวนแบบฝึกหัดก่อนสอบด้วยแบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะประเมินผลคะแนนให้ทราบทันที
   5.2.3 นำเสนอผลงานที่ปฏิบัติ
   5.2.4 มอบหมายให้จัดทำ e-portfolio  สรุปผลงานที่ได้เรียนมาตลอดภาคการศึกษา
   5.3.1 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
   5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ
   5.3.3 ประเมินจากการมีส่วนร่วม การเป็นผู้ฟังที่ดี
   6.1.1 สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
   6.1.2 สามารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
   6.1.3 สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
     มอบงานทุกสัปดาห์ให้นักศึกษาฝึกทักษะด้านการจัดองค์ประกอบศิลป์
   6.3.1 ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์
   6.3.2 สอบกลางภาคและปลายภาค
   6.3.3 วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ ความ ถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ
   6.3.4 สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมถาม - ตอบ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในห้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 40000005 องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 1-7 1-7 8-14 8-14 ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ทำแบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 1-7 สอบกลางภาค ทำแบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 8-14 สอบปลายภาค 1 1-7 8 9-15 16 10% 10% 10% 10%
2 1-14 การปฏิบัติงานออกแบบและ การนำเสนอแรงบันดาลและแนวคิด ในการออกแบบผลงานหน้าชั้นเรียน การเข้าเรียนสื่อออนไลน์ การ scan และ upload ส่งงานทันเวลา ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1-14 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ฉัตรชัย  อรรถปักษ์.  2548. องค์ประกอบศิลปะ. กรุงเทพฯ :  วิทยพัฒน์.
ชลูด  นิ่มเสมอ. 2539.  องค์ประกอบศิลปะ.  กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
นพวรรณ  หมั้นทรัพย์.  2539.  การออกแบบเบื้องต้น.  เชียงใหม่ :  โครงการตำรา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ.
สมชาย  พรหมสุวรรณ. 2548. หลักการทัศนศิลป์.  กรุงเทพฯ :  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัครเดช  อยู่ผาสุข.  วิชาศิลปศึกษา  หลักสูตรการศึกษาทางไกล.
Lazzari,M.R. and Clayton,L.1990.  Art and Design Fundamentals.  New York : Van Nostrand Reinhold.
แผนการจัดการเรียนรู้
เอกสารอ่านประกอบ
คำอภิธานศัพท์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
e-learning  มทร.ล้านนา  วิชา Art Composition   เข้าถึงได้จาก http://elearning.rmutl.ac.th/main/course/
ความรู้ทั่วไปและนิยามของศิลปะ.  เข้าถึงได้จาก  http://krumek.igetweb.com.
สี  เข้าถึงได้จาก  http://gotoknow.org/blog/pavanadesign/102313
สี  เข้าถึงได้จาก  http://www.prc.ac.th/newart/webart/composition.html
การออกแบบสามมิติ  เข้าถึงได้จาก http://gotoknow.org/file/pavana/14Three%20%20Dimention%20Design.pdf
John  Lovett.  Element and Principle of design. เข้าถึงได้จาก http://www.johnlovett.com/test.htm
Joshua David McClurg-Genevese. .  Principle and Element of Design.  เข้าถึงได้จาก http://www.digital-web.com/articles/principles_and_elements_of_design/ 
Marvin Bartel. Some ideas about composition and design :  Elements, Principles and visual effect.  เข้าถึงได้จาก http://www.goshen.edu/art/ed/Compose.htm
       การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
   2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
   2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
   2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
   3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
   3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
   4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
   4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
   5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
   5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ