นวัตกรรมและเทคโนโลยี

Innovation and Technology

1.1  เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.2  เข้าใจกระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี
1.3  สามารถสังเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม นวัตกรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
1.4  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม  
1.5  สามารถประเมินค่าประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่ออนาคต
1.6  สามารถออกแบบนวัตกรรม
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  กระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์  สังคม  นวัตกรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่ออนาคต  ฝึกออกแบบนวัตกรรม
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
™  1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. Team Base Learning
2. Brainstorming
3. Collaborative Team Learning
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. ผลงาน/ชิ้นงาน /โครงงาน
3. การนำเสนอผลงาน
™ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š 2.3 มีสามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. Team Base Learning
2. Brainstorming
3. Collaborative Team Learning
1. การนำเสนอผลงาน
2. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
3.โครงงาน
š 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. Team Base Learning
2. Brainstorming
3. Collaborative Team Learning
1. โครงงาน
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
™ 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
™ 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. Team Base Learning
2. Collaborative Team Learning
1. โครงงาน
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
™ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. Team Base Learning
2. Brainstorming
3. Collaborative Team Learning
1. การนำเสนอผลงาน
2. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
3. โครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN102 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1-16 10%
2 3.2, 4.3, 5.2 กิจกรรม STEM 2 5%
3 1.2, 2.2, 3.2, 4.3, 5.2 Clip video presentation 3-7 20%
4 1.2, 2.2, 3.2, 4.3, 5.2 โครงงานนวัตกรรม/โมเดลนวัตกรรม 10-15 25%
5 2.2, 4.3, 5.2 นำเสนอผลงาน 7,8,14,15 10%
6 1.2, 2.2, 3.2 สอบปลายภาค 17 30%
เนาวนิตย์ สงคราม. 2013. การสร้างนวัตกรรม : เปลี่ยนผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างนวัตกรรม. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์. 198 น.
พยัต วุฒิรงค์. 2014. การจัดการนวัตกรรม : ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์. 264 น.
อภิชาติ ศรีสะอาด. 2013. สุดยอดนวัตกรรมใหม่ สู่...AEC. นาคาอินเตอร์มีเดีย. 152 น.
1.1  นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชาผ่านการสรุปภาพรวมของการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม  โดยผ่านกิจกรรมสะท้อนคิดในสัปดาห์ก่อนสอบกลางภาคและปลายภาค
1.2  นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย 
 
มีกลยุทธ์การประเมินการสอนโดยผ่านการประเมินการสอนจากนักศึกษา ข้อสอบ  การทำโครงงาน  การนำเสนอผลงาน  และแบบประเมินการสอนจากผลการสะท้อนแนวคิด
1.นำผลที่ได้จากการประเมินการสอนจากนักศึกษา ผลการสอบของนักศึกษา ผลจากแบบประเมินการสอนจากการสะท้อนแนวคิดมาปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน
2.ลดจำนวนนักศึกษาต่อกลุ่มจากเดิม 5 คน เหลือ 4 คน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานกลุ่มมากขึ้น และเปิดโอกาสให้นักศึกษาสามารถเลือกทำกิจกรรมกับอาจารย์ผู้สอนตามความต้องการของกลุ่มตัวเอง
3.ปรับคะแนนสอบปลายภาคเป็น 30 คะแนน โดยไม่มีการสอบกลางภาค เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ที่เรียนมาทั้งหมดนำมาใช้ในการสอบวัดผลปลายภาค
4.เพิ่มกิจกรรมให้นักศึกษาจัดทำคลิปวีดีโอที่เกี่ยวกับกิจกรรมหรืองานที่ชุมชนมีการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีไปใช้ เพื่อเป็นการเปิดโลกทัศน์และเป็นการฝึกการเรียนรู้นอกห้องเรียน
5.ในภาคการศึกษานี้ได้กำหนดให้นักศึกษาออกแบบและสร้างโมเดลนวัตกรรมที่เน้นการแก้ปัญหาของชุมชน
           
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีได้ปฏิบัติโดยการทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ, งานที่มอบหมาย-โครงงาน หรือการนำเสนอผลงาน
5.1พัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้นักศึกษาได้มีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์
5.2ให้นักศึกษามีการอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายมากขึ้น
5.3ปรับกระบวนการออกข้อสอบปลายภาคให้เหมาะสมโดยใช้ข้อสอบเป็นแบบคิดวิเคราะห์หรือการนำความรู้ไปใช้ทั้งหมด
5.4 ในภาคการศึกษา 2/2561 ได้มีการมอบหมายให้นักศึกษาจัดทำคลิปวีดีโอเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนที่มีการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินชีวิตเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เห็นบทบาทและความสำคัญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น  
5.5การทำโครงงานการสร้างนวัตกรรมมุ่งเน้นให้สอดคล้องกับการแก้ปัญหาในชุมชนหรือการลดการเกิดปัญหาในชุมชน