ระบบอัตโนมัติ

Automatic System

เพื่อให้นักศึกษาสามารถ การออกแบบวงจรซีเควนซ์ การใช้แผนผังคาร์นาฟในการออกแบบวงจรลอจิก อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ การต่อพ่วงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน การวางระบบยูทีลิตี้ที่จำเป็นสำหรับระบบอัตโนมัติ กรณีศึกษาสำหรับระบบอัตโนมัติในงานวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบวงจรซีเควนซ์ การใช้แผนผังคาร์นาฟในการออกแบบวงจรลอจิก อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ การต่อพ่วงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน การวางระบบยูทีลิตี้ที่จำเป็นสำหรับระบบอัตโนมัติ กรณีศึกษาสำหรับระบบอัตโนมัติในงานวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการของนักศึกษา โดยให้มีการนัดหมายเวลาล่วงหน้า
1.   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกความสำคัญของการมีระเบียบวินัย และวัฒนธรรมองค์กร
2. สอดแทรกความสำคัญของบทบาทและหน้าที่รับผิดชอบของตนเองต่องานมอบหมาย
1. การเข้าชั้นเรียน
2. การนำเสนองานมอบหมาย
3. ความสำเร็จของงานมอบหมายตามหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละคน
1.   มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.   สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.   สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
ใช้การเรียนการสอน 2 รูปแบบหลัก โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติ ผ่านแบบจำลองระบบด้วยการใช้เทคโนโลยี 
1   การทดสอบย่อย
2   การสอบกลางภาคการศึกษาและปลายภาคการศึกษา
3   ประเมินจากความสำเร็จของงานมอบหมาย
4   ประเมินจากการนำเสนองานมอบหมาย
1   มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
1. ให้นักศึกษาวิเคราะห์ความสำคัญของระบบอัตโนมัติและการควบคุมที่เกี่ยวข้องกับงานด้านเกษตรและชีวภาพ
2. ให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการเขียนโปรแกรม
1. ประเมินผ่านความสำเร็จของงานมอบหมาย
2. ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย
3. ประเมินผ่านการสอบกลางภาคและปลายภาค
1.   รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
สอดแทรกความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลผ่านการทำงานกลุ่ม โดยให้นักศึกษากำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน และนำเสนอแนวทางการทำงานและแนวทางแก้ปัญหาที่ตนเองรับผิดชอบ
1. ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย
2. ประเมินจากความสำเร็จของงานที่แต่ละคนได้รับมอบหมาย
1.   สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
1. อธิบายผ่านการเขียนโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการควบคุมอุปกรณ์ และการอ่านค่าผลลัพธ์ที่ได้จากตัวตรวจวัด
2. กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบอัตโนมัติและการควบคุมกระบวนการเกษตรและชีวภาพ
1. ประเมินจากความสามารถในการเขียนโปรแกรม
2. ประเมินจากความสามารถในการสั่งและรับค่าจากอุปกรณ์
3. ประเมินจากความสำเร็จของงานมอบหมาย
4. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
1.   มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
มอบหมายงานกลุ่มด้านระบบอัตโนมัติและการควบคุม โดยให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติเพื่อการควบคุมระบบที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านงานเกษตรและชีวภาพ
1. ความก้าวหน้าของงานในแต่ละสัปดาห์
2. ความสำเร็จของงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3. การนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG106 ระบบอัตโนมัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม การเข้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10
2 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การสอบกลางภาค และ ปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 18 40
3 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 3.3 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี การนำเสนองานมอบหมาย ความสำเร็จของงานมอบหมาย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเข้ากับงานมอบหมาย ความรับผิดชอบส่วนบุคคลต่องานมอบหมาย สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 15 สัปดาห์ที่ 16 50
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การออกแบบ/ข้อพิจารณา/การเลือกใช้ระบบอัตโนมัติและการควบคุมเครื่องจักรกลอัตโนมัติ เรียบเรียงโดย ว่าที่ร้อยโท ดร.ณัฐรัตน์ ปาณานนท์
ใบงานการเขียนโปรแกรมสำหรับบอร์ดควบคุมสำเร็จรูป Arduino UNO R3 เรียบเรียงโดย ว่าที่ร้อยโท ดร.ณัฐรัตน์  ปาณานนท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง โดย  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน และ  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ