นโยบายภาษีและการภาษีอากร

Tax and Tax Policy

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในนโยบายภาษี และความจำเป็นที่รัฐต้องจัดเก็บภาษี ศึกษาวิธีการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร อันได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  ภาษีเงินได้นิติบุคคล  ภาษีมูลค่าเพิ่ม  และภาษีอื่นที่จำเป็น 
1.2 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูลนโยบายภาษีที่จำเป็น เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 
1.3 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
 
 
ตามกฎหมายภาษีอากร ประมวลรัษฎากร ที่ใช้ใน พ.ศ.2562
ศึกษานโยบายภาษี และความจำเป็นที่รัฐต้องจัดเก็บภาษี ศึกษาวิธีการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร อันได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  ภาษีเงินได้นิติบุคคล  ภาษีมูลค่าเพิ่ม  และภาษีอื่นที่จำเป็น
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
จัดกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม มีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพในเนื้อหาารายวิชา  รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา  ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด  ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย  และอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอนมีการมอบหมายงานกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม  เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น  รวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ  และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
1.ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2.ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
3.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  การบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ และการจัดกิจจรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง  รวมถึงมอบหมาายให้ทำรายงาานพร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
1) ทดสอบย่อย  2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
3)ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์  ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
1.การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
2.การมอบหมายงานแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
1.ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
2.ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม  และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.นำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
ประเมินจากผลงานนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายแต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
6.1 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจนำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
1.จัดกิจรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2.ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
3.จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่างๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
2.ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษาจากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
1 BBACC109 นโยบายภาษีและการภาษีอากร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม 1.ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม 2.ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ 3.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10
2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 1.ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค ได้แก่ การทดสอบย่อย1 การสอบกลางภาค การทดสอบย่อย2 การสอบปลายภาค 2.การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือการสอบปฏิบัติ 6,8,12,18
3 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์  ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา 4,7,10,11,12,13,14 5
4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 1.ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 2.ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 7,10,11,12,13,14 5
5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม  และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากผลงานนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายแต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 7,10,11,12,13,14 5
6 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจนำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 1.การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่างๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 2.ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษาจากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 4 5
สุเมธ ศิริคุณโชติ, กำธร สิริชูติวงศ์, อดิศักดิ์ สืบประดิษฐ์ และภิรัตน์ เจียรนัย. (2562). ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2562. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดเรือนแก้วการพิมพ์.
www.rd.go.th
www.rd.go.th
ใช้แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัย
1.ใช้การประเมินจากผลการสอบของนักศึกษา ทั้งในการทดสอบย่อย และทดสอบประจำภาคเรียน 2.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
วิเคราะห์ผลการสอนจาก แบบประเมินผลการสอนของนักศึกษา และปรับปรุงจุดบกพร่องตามผลประเมิน สรุปผลการเรียนรู้ของนักศึกษาจากผลการสอบ  ปรับปรุงการสอนโดยเน้นในเรื่องที่นักศึกษาขาดทักษะ
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา การสอบทานความตรงประเด็นของข้อสอบ โดยคณะกรรมการกำกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
นำผลการประเมินจากข้อ 1 ข้อ 3 และ ข้อ 4 มาพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ในเรื่องอาจารย์ผู้สอน การจัดตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนและปรับปรุงเนื้อหา มาตรฐานข้อสอบ