ไมโครโปรเซสเซอร์

Microprocessor

1.1 อธิบายเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม ภาษาแอสแซมบลี การแปลภาษาแอสแซมบลีเป็นภาษาเครื่องได้
1.2 สามารถตรวจสอบการแก้ไขโปรแรม ฮาร์ดแวร์ของระบบไมโครโปรเซสเซอร์ได้
1.3 สามารถประยุกต์ใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ในการควบคุมได้
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณภาพทางการศึกษาเพื่อมาตรฐานวิชาชีพ
ศึกษาเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม ภาษาแอสแซมบลี การแปลภาษาแอสแซมบลีเป็นภาษาเครื่อง การตรวจสอบแก้ไขโปรแกรม ฮาร์ดแวร์ของระบบ ไมโครโปรเซสเซอร์ การประยุกต์ใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ในการควบคุม
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
š1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
กำหนดให้นักศึกษาต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกาย การสอนเน้นการสอดแทรกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นด้านคุณธรรม จริยธรรม การมีทัศนคติที่ดีในการช่วยเหลือผู้อื่น ทัศนคติด้านการรักษาสภาพแวดล้อมและการลดการใช้พลังงาน
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน พฤติกรรมในห้องเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในกิจกรรมที่มีการมอบหมายต่างๆ
˜1.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษ
˜1.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜1.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยายทฤษฎี อภิปรายเกี่ยวกับหลักทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยสอดคล้องกับเนื้อหาไมโครโปรเซสเซอร์ การวิเคราะห์การทดลอง และมอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งเน้นนวัตกรรมใหม่หรืองานวิจัยใหม่ มีการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับไมโครโปรเซสเซอร์
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการทฤษฎี และปฏิบัติ
2.3.3 ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ
˜3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
˜3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษานำเสนอแนวความคิด และปัญหาที่สนใจที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายวิชา
3.2.2 ให้นักศึกษาได้ลงปฏิบัติ และแก้ไขสภาพปัญหาจริง ในรูปแบบการพัฒนาอุปกรณ์ โดยใช้องค์ความรู้ที่ศึกษาจากทฤษฎี
3.2.3 การอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยการนำทฤษฎีที่เหมาะสมมาใช้
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา และการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.3.3 สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
š5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์ เทคโนโลยีของอุปกรณ์ คำสั่ง ที่ใช้ในรายวิชา แนะนำเทคนิคและเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อเคราะห์ข้อมูล/สารสนเทศ เชิงคุณภาพให้เป็นข้อมูล/สารสนเทศเชิงปริมาณ และประเมินข้อมูลสารสนเทศที่เป็นเชิงคุณภาพให้เป็นเชิงปริมาณ
มอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในลักษณะที่เป็นตัวเลข กราฟ ภาพ และ ข้อความปริมาณที่สอดคล้องเชื่อมโยงกันและสามารถนำเสนอเป็นตัวเลขได้
ประเมินจากการนำเสนอรายงาน โดยพิจารณาจากเนื้อหา สื่อเทคโลยีที่ใช้นำเสนอ ความถูกต้องของภาษาพูดและภาษาเขียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2
1 32023303 ไมโครโปรเซสเซอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1,2.4 – 2.6, 3.2 แบบทดสอบ 4,9,15 30%
2 1.1, 1.6, 1.7,2.1, 2.4–2.6, 3.2, 5.3-5.4 สอบปลายภาค 8 50%
3 1.1 – 1.7, 3.1 คะแนนเก็บ 2, 6, 10, 12, 14 20%
ชื่อตำราหลัก ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ ชื่อผู้แต่ง ผศ.ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร สำนักพิมพ์ - ปีที่พิมพ์ ๒๕๔๘ ชื่อหนังสืออ่านประกอบ ๑. การประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ ตระกูล MCS-51 ชื่อผู้แต่ง รศ.สมยศ จุณณะปิยะ สำนักพิมพ์/ปีที่พิมพ์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง/๒๕๔๔
๒. Advanced Microprocessors and Microcontrollers ชื่อผู้แต่ง Bradi Ram. สำนักพิมพ์/ปีที่พิมพ์ Prentice-Hall /1995
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการให้ข้อเสนอแนะของนักศึกษา โดยนักศึกษาประเมินผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต
ประเมินการสอนโดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอก โดยพิจารณาจากคุณภาพการออกข้อสอบ การวัดผล การตัดเกรด ของผู้สอน ตลอดจนพิจารณาจากคุณภาพการจัดทำแฟ้มสะสมงานการสอนรายวิชาของผู้สอน
จัดให้มีสัมมนาการจัดการเรียนการสอนหรือให้คณาจารย์ในภาควิชาได้เข้าอบรมการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชาสนับสนุน ให้ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน และให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีออกข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ การวัดผล และการตัดเกรด
ภาควิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยผู้เรียน โดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอต่อภาควิชาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป