การวิเคราะห์และออกแบบระบบสำหรับวิศวกรรม

System Analysis and Design for Engineering

เมื่อนักศึกษาเรียนผ่านรายวิชานี้แล้ว จะมีความสามารถดังต่อไปนี้
            เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์ระบบงานคอมพิวเตอร์ การออกแบบระบบ การเขียนโมเดลต่างๆ ทางซอฟต์แวร์ และการเขียนเอกสารประกอบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการทำงานในอนาคต
ศึกษาเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ วงจรการพัฒนาระบบ วิธีวิเคราะห์ระบบ เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ระบบ การศึกษาความเป็นไปได้ขอบระบบ ผังการบริหารโครงการ แผนภาพแสดงการทำงาน แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล การเขียนคำอธิบายการประมวลผล แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล พจนานุกรมข้อมูล ผังแสดงโครงสร้างของระบบ การออกแบบส่วนรับข้อมูล การออกแบบส่วนแสดงผลข้อมูล การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การกำหนดคุณสมบัติของระบบฮาร์ดแวร์และเครือข่าย การทำเอกสารประกอบ
         3.1 วิธีการให้คำแนะนำ ให้คำแนะนำในชั้นเรียนหากนักศึกษามีข้อสงสัยในเนื้อหาที่เรียน สามารถสอบถามในห้องเรียนหรือนอกเวลาเรียนได้ตลอดเวลา 5 วันต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
          3.2 นักศึกษาสามารถ E-mail มาปรึกษา หรือ แชทผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ได้ทุกเวลา
    ™ 1.2 วินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
    ™ 1.5 เครารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของสถาบันฯ
2.นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซ่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1.ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
    ˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
    ˜ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจแลอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
    ˜ 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ระกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
    ˜ 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้
    ™ 2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษา เพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
     ˜ 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
 
    ˜ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/ หรือการประยุกต์ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ใช้งานได้จริง
     ˜ 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทฤษฏี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ
5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
˜ 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
    ˜ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินอุตสาหกรรมโดยใช้สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    ™ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
    ˜ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม
1. การมอบหมายงานให้ผู้เรียนทำโครงงานกลุ่มที่ต้องวิเคราะห์และออกแบบระบบ
2. อภิปรายกลุ่ม
1. สอบกลางภาคและปลายภาค ออกข้อสอบให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดของการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา
2. วัดผลจาการประเมินโครงการ การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
™ 4.4 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
    ˜ 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายงานกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ที่มีการค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น 
2. การนำเสนอโครงงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
3. สังเกตุพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
    ˜ 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
    ˜ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
    ˜ 5.4 สามารถเลือกใช้สื่อสารสนเทศอย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา รายกลุ่ม โดยการนำเสนอโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม   
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย การตอบข้อซักถามจากกลุ่มเพื่อน และอาจารย์ผู้สอน
    ไม่เน้น
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 3.1 3.2 3.3 3.4 4.4 4.1 4.2 4.3 4.5 4.6 5.1 5.2 5.3 5.4 6.2 6.1
1 32091408 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสำหรับวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน 1-16 การเข้าชั้นเรียน 1-16 1-16 10%
2 2,3 ความรู้ และ ทักษะทางปัญญา 5,6 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีและทักษะปฏิบัติ สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 5,9,17 5% 30% 30%
3 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีและทักษะปฏิบัติ - รายงานวิเคราะห์กรณีศึกษารายกลุ่ม - การแบ่งกลุ่มทำงานในรูปรายงานโครงงาน และการนำเสนอ 16 15% 10%
1.1 หนังสือ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม), โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์
1.2 หนังสือ คัมภีร์การวิเคราะห์และออกแบบระบบ, กิตติ ภักดีวัฒนะกุล-พนิดา พานิชกุล
 2.1 หนังสือ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ, ซีเอ็ดยูเคชั่
2.2 เอกสารการเรียนแบบ Power Point 
 
เว็บไซด์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 การติดต่อ ปรึกษา ส่งงานตามที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
 
 2.1 สังเกตการณ์เรียนของนักศึกษาในห้องเรียน 
2.2 พิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 พิจารณาผลงานกลุ่มของนักศึกษา
 
 3.1 นำผลการประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชามาพิจารณาและหาแนวทางปรับปรุงวิธีการสอนและการเรียนรู้ของนักศึกษา  
3.2 สัมมนาการเรียนการสอน
 
     มีการทบทวนผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์  หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
 5.1 มีการปรับปรุงรายวิชาทุกๆ   5   ปี   นอกจากนี้ในแต่ละภาคการศึกษา  จะมีการนำผลการประเมินการสอนมาพิจารณาปรับปรุงเนื้อหารายวิชาและแนวทางการสอน
5.2 เชิญอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญบรรยายให้ความรู้เพิ่มเติม เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่หลากหลายมากขึ้น