การวิเคราะห์อาหารสัตว์

Feed Analysis

  1. รู้ และเข้าใจความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์ที่มีต่อการเลี้ยงสัตว์
       2. รู้จักการเก็บตัวอย่าง เครื่องมือ และอุปกรณ์สำหรับงานวิเคราะห์ การบันทึก และการรายงานผลการทดลอง
       3. รู้ เข้าใจ และมีทักษะในการเตรียมสารละลายสำหรับการวิเคราะห์อาหารสัตว์
4. รู้ เข้าใจ และมีทักษะในการวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ (Proximate analysis) การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์โดยวิธี Van Soest การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์
        5. รู้ เข้าใจ และมีทักษะในการวิเคราะห์แร่ธาตุที่สำคัญบางชนิด
เพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทนสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ การเตรียมสารละลาย การเก็บตัวอย่าง การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ การวิเคราะห์แร่ธาตุหลักบางชนิด การวิเคราะห์แบบ van soest ในพืชอาหารสัตว์ และการวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์
สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง โดยใช้วิธีนักศึกษานัดหมายอาจารย์ล่วงหน้า
นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address : nokgapood@gmail.com หรือ Facebook : Nitima Chalermsan
1.1  มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 
5. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
6. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2 .โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.ข้อสอบอัตนัย
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง
ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
5. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
11. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
5.การประเมินตนเอง
6.การเขียนบันทึก
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
11. การสอนแบบปฏิบัติ 
12. การสอนแบบ  Brain  Storming Group  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
5.การเขียนบันทึก
6.โครงการกลุ่ม
4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบกรณีศึกษา
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
7. การสอนแบบปฏิบัติ 
8. การสอนแบบ  Brain  Storming Group  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง 
พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวาจา
ใช้ใบงาน ในการทำรายงานการปฏิบัติงานส่ง
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3.โครงการกลุ่ม
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG241 การวิเคราะห์อาหารสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 1.1, 1.2, 4.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน (ปฏิบัติ) 1-15 15%
3 2.1 การสอบกลางภาค 9 25%
4 3.1, 2.1,4.2,5.2 การนำเสนองาน/การจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน/สอบปากเปล่า 1-15 25%
5 2.1 สอบปลายภาค 17 25%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล.  2541.  โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 6 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่  170 น. 
อังคณา หาญบรรจง และดวงสมร สินเจิมสิริ. 2532. การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพอาหารสัตว์ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  155 น.
เสวนิต คูประเสริฐ. 2529.  บทปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 2 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.  192 น.
AOAC.  1990.  Official method of analysis 4th ed., association of agricultural chemist.  Washington DC.  1141pp.
Goering, H.K. and Van Soet, P.J.  1970.  Forage Fiber Analysis.  (apparatus, reagents, procedures, and some application) U.S. Dept. Agric. Agric. Res. Serv.  Agric. Handbook. 379 p.
 
ข้อมูล/สถิติของกรมปศุสัตว์ http://www.did.go.th
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
-การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผลการทดสอบ
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-นำผลประเมินการสอน ในส่วนที่มีคะแนนต่ำมาพิจารณาปรับปรุง
-ทวนจากคะแนนสอบ  การปฏิบัติงาน และรายงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น