เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช

Post Harvest Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1) มีความรู้ ทักษะปฏิบัติ และสามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุเก็บรักษา การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว
2) มีทักษะในการประเมินการสุกแก่ของผลิตผลจาการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ตลอดจน การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว
3) สามารถนำความรู้และทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวไปใช้ในการประกอบอาชีพอิสระได้อย่างครบวงจร
4) มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
ปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและขอบเขตของเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา ตลอดจนวิธีการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิต
Study and practice of the postharvest technolog importance and scope. Phsiological and biochemical changes of crop product. Factors that effect the quality and storage” Harvesting method. Pest control and prevention after harvesting.. Post harvesting operation. Storage. The quality testing and standardized of product.
5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณ
การสอนโดยการกำหนดเงื่อนไขการปฏิบัติตนของนักศึกษาในการเรียน และปลูกฝังให้นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะมีคุณธรรม จริยธรรม และ และตระหนักถึงจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
1. ประเมินจากการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย  การเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ ตรงต่อเวลา และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานกลุ่ม
2. ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการสอบ
3. ประเมินจากการตอบคำถามด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜  2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
      2.2 มีความรอบรู้
1. การสอนแบบบรรยายเชิงสาธิต
2. การมอบหมายแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกคิดและวิเคราะห์เหตุผลของการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว
3. การมอบหมายให้นักศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากหนังสือในห้องสมุดและ/หรือความรู้ทางอินเตอร์เน็ตและจัดทำรายงาน
1. การสังเกตความสนใจ
2. การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินจากการทำแบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย
4. ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
 š 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ
š 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
      3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
การสอนแบบ Project Based Leaning โดยมอบหมายงานให้นักศึกษาทำการทดลองเกี่ยวกับการยืดอายุการเก็บรักษา ผลิตผลไม้ผล/ผัก โดยมอบหมายให้เป็นงานปฏิบัติแบบกลุ่ม
1. การปฏิบัติงานทดลอง และรายงานผลการทดลอง
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š 4.1  ภาวะผู้นำ
˜ 4.2  มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
การสอนแบบ Project Based Leaning โดยมอบหมายงานให้นักศึกษาทำการทดลองเกี่ยวกับการยืดอายุการเก็บรักษา ผลิตผลไม้ผล/ผัก โดยมอบหมายให้เป็นงานปฏิบัติแบบกลุ่ม โดยให้นักศึกษาอภิปราย แบ่งงานและเลือกอาสาทำงานที่ตนเองถนัด
1. ประเมินจากรายงานและการนำเสนอข้อมูลผลการทดลอง
2. ประเมินจากความตั้งใจและการมีส่วนร่วมในปฏิบัติการ
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
š 5.1 มีทักษะการสื่อสาร
˜ 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2. การมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดและการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.การนำเสนอข้อมูลผลการทดลอง Project base learning
.การทำรายงานผลการทดลอง
 1.  ประเมินจากทักษะการเขียนรายงานการทดลองที่ได้รับมอบหมาย โดยมีการตรวจเอกสารโดยสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดและการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
2. การนำเสนอผลงานผลงานทดลอง
ประเมินจากทักษะการความสวยงาม น่าสนใจ ความถูกต้องของภาษาที่ใช้ในสื่อที่นำเสนอ เทคนิคการนำเสนอและการตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG133 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ที่เรียน ยกเว้นสัปดาห์ที่มีการสอบ 10%
2 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค ความร่วมมือในการตอบคำถามที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าเพิ่มเติม 2, 4, 6,8,10 12, 14 9 18 15% 15% 15%
3 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) การทำบทปฏิบัติการและรายงานผล การปฏิบัติงานทดลองรายกลุ่ม (PBL) และรายงานผลการทดลอง 2-14 2-14 25 % 10 %
4 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) การนำเสนอผลงาน/การรายงาน 2-14 5 %
5 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical แบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย และ การนำเสนอผลงาน/การรายงาน 17 5 %
จริงแท้ ศิริพานิช. 2541. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2.
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.396 หน้า.
กรมวิชาการเกษตร.มปป. ความต้องการไม้ผลเมืองร้อนของอเมริกา( ตอนที่2 ).แหล่งที่มา
http //www.doa.go.th( 10 เมษายน 2547 )
กรมส่งเสริมการเกษตร.มปป. ภาชนะบรรจุอาหาร.กลุ่มงานเคหกิจเกษตร กองพัฒนาบริหารงานเกษตร
แหล่งที่มา http //www.doa.go.th/ library ( 15 มีนาคม 2547 )

2541.การปลูกแอปเปิล.แผ่นพับเผยแพร่ที่78. ฝ่ายส่งเสริมเกษตรที่สูง.

แหล่งที่มา http //www.doae.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546. การจัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตร. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.โครงการพัฒนามะม่วง ฝรั่ง สมุนไพร และเครื่องเทศฉายรังสี. สำนัก
บริการส่งออก .แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ชาวต่างชาติรับประทานมะม่วงกันอย่างไร. สำนักบริการส่งออก .
แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ตลาดกล้วยของไทยในต่างประเทศ. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ไต้หวันประกาศแก้ไขกฎระเบียบการตรวจกักกันโรคพืชและห้ามการ
นำเข้าสินค้าเกษตรจากไทยจำนวน7 ชนิด. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http
//www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.มะขามหวาน. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http
//www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.รายงานผลโครงการความช่วยเหลือผู้เชี่ยวชาญอิสราเอลสินค้าผักและผลไม้
สด. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.อนาคตของลำไยไทย. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กิตติพงษ์ ห่งรักษ์.2542 .ผักและผลไม้. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.กรุงเทพฯ.311 น.
เกตุอุไร ทองเครือ.2541. การปลูกสับปะรด .กรมส่งเสริมการเกษตร. แหล่งที่มา
http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
จริงแท้ ศิริพานิช และธีรนุช ร่มโพธิ์ภักดิ์.2543. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.โรงพิมพ์ศูนย์
ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

90 น.

จิรา ณ หนองคาย .2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผัก ผลไม้ และดอกไม้.สำนักพิมพ์แมสพับลิชชิง.
กรุงเทพฯ 272 น.
จุไรรัตน์ แสงสวัสดิ์.2541. การปลูกฝรั่ง.กองส่งเสริมพืชสวน กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา
http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
เฉลิมเกียรติ โภคาวัฒนา และภัสรา ชวประดิษฐ์.2541. การผลิตข้าวโพดฝักอ่อน.กรมส่งเสริม
การเกษตร.แหล่งที่มา http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
เฉลิมเกียรติ โภคาวัฒนา ภัสรา ชวประดิษฐ์ ปิยรัตน์ เขียนมีสุข และนิยมรัตน์ ไตรศรี.2541.
กระเจี๊ยบเขียว.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http//www.doae.go.th / library (15
มีนาคม 2547 )
ดนัย บุณยเกียรติ. 2540.สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .
เชียงใหม่ .222 น.
ดนัย บุณยเกียรติ. 2543.โรคหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.เชียงใหม่.
156 น.
ดนัย บุณยเกียรติ และนิธิยา รัตนาปนนท์. 2535.การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.สำนักพิมพ์
โอเดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.146 น.
นลินี โหมาศวิน.2546.การส่งออกทุเรียนสดไปตลาดต่างประเทศ. สำนักบริการส่งออก กรมส่งเสริม
การเกษตร.แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
นลินี โหมาศวิน.2546. ผู้นำเข้ามังคุดจากญี่ปุ่นเยือนไทย. สำนักบริการส่งออก กรมส่งเสริมการเกษตร.
แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2537.โภชนศาสตร์เบื้องต้น. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.
นิธิยา รัตนาปนนท์ และดนัย บุณยเกียรติ. 2537.การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้. สำนักพิมพ์โอ
เดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ.2541 .บรรจุภัณฑ์อาหาร.บริษัทโรงพิมพ์หยี่เฮง จำกัด
กรุงเทพฯ.358 น.
พัฒนา นรมาศ.2541.การปลูกมะม่วง.คำแนะนำที่ 43.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http
//www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )
พัฒนา นรมาศ สมคิด โพธิ์พันธ์ และอัญชลี พัดมีเทศ.มปป.ดัชนีการเก็บเกี่ยวมังคุดเพื่อการส่งออก
แผ่นพับเผยแพร่ 201. 43.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th
/library(15 มีนาคม 2547 )
เรณู ดอกไม้หอม. มปป. การป้องกันและกำจัดแมลงวันผลไม้.กองป้องกันและกำจัดศัตรูพืช.กรม
ส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )วัฒนา สรรยาธิปิติ . 2541.การปลูกมะม่วง.ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.สำนักงาน
ส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th
/library(15 มีนาคม 2547 )
สังคม เตชะวงศ์เสถียร.2536.ดัชนีการเก็บเกี่ยว.เอกสารคำสอนวิชาการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุนีย์ สหัสโพธ์.2543.ชีวเคมีทางโภชนาการ.สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ
อดิศร กระแสชัย. 2535. เบญจมาศ. โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ กรุงเทพฯ 129 หน้า.
สุวิมล กีรติพิบูลย์.2543.GMP ระบบการจัดการและควบคุมการผลิตอาหารให้ปลอดภัย.สำนักพิมพ์
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น ). กรุงเทพฯ
สุวิมล กีรติพิบูลย์.2544. ระบบประกันคุณภาพด้านความปลอดภัยของอาหาร; HACCP.สำนักพิมพ์
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น ). กรุงเทพฯ
Anon.1991. Control atmosphere (C.A .)& modified atmosphere.(M.A. ). P 77-87.In
Fresh produce manual: handling & storage practices for fresh produce.
2nd edition. Australia United Fresh Fruit & Vegetable Association Ltd,
Victori
Anon.2003.Baby vegetable enjoint boom in France. Eufruit magazine. March:23 –
24. Blacker, K. J.1989.Humidity –Temperture magazine.p25- 61. In Fresh
produce manual:handling & storage practices for fresh produce. 2nd
edition.
Australia United Fresh Fruit & Vegetable Association Ltd, Victori
อภิตา บุญศิริ.2545. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวนรุ่นที่14 : เอกสารประกอบการฝึกอบรม. ฝ่าย
ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน.
นครปฐม.
อัญชลี พัดมีเทศ. 2541 . การปลูกส้มเขียวหวาน. คำแนะนำที่ 36 .กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา
http //www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547.
Rom Plastica snc.No date.Packaging for fruit and vegetable.Availabl
http://www.rom plastica .com (15 April 2004).
ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ และมีระบบการประเมินรายวิชาโดยให้ผู้เรียนประเมินและแสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชาทางระบบอินเตอร์เน็ต
 
อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ โดยการสังเกต การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร