ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต

Sufficiency Economy and Wisdom of Living

1.  เข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้
2.  เข้าใจหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและโครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ
3.  เข้าใจหลักธรรมาภิบาล
4.   เข้าใจภูมิปัญญา การคิดและการบริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก
5.  เข้าใจการบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิตและ การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม
6.  เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรมและหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
                เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ  หลักธรรมาภิบาล ภูมิปัญญา การคิดและการบริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรมและหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งตรงกับสังคมไทยในปัจจุบันมากที่สุด
ศึกษาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ  หลักธรรมาภิบาล ภูมิปัญญา การคิดและการบริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรมและหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
     -อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้พื้นฐานเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีพื้นฐานทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองที่มีต่อการพัฒนา เข้าใจหลักธรรมาภิบาลและแนวทางพัฒนาที่ยั่งยืนมีการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและเห็นคุณค่าของการดำรงชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง  โดยนักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม ดังนี้

 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
       -บรรยายพร้อมซักถามแนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
       -อภิปรายกลุ่มและนำเสนอเรื่องการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันและการนำไป
        ประยุกต์ใช้
       -ลงพื้นที่ปฏิบัติงานในโครงการแปลงผักข้างสำนักงาน โดยน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
       -ฝึกปฏิบัติจริงโดยทำกิจกรรม “บ้านพอเพียงบ้านของพ่อ”
       -ระดมสมอง KM เรื่อง “การคิดและการบริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก”
       -การดำเนินชีวิตแบบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “การเก็บการออม” “การเพิ่มรายได้การลดรายจ่าย” 
       -เข้าเรียนตรงเวลาและมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
       -ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามที่กำหนดและตรงเวลา พร้อมลงชื่อส่งงานทุกชนิด
       -มีความสามารถทำงานเป็นกลุ่มและมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
       -ผลงานนักศึกษาที่นำเสนอต้องนำเสนอโดยใช้โปรแกรม Power point
       -ผลงานนักศึกษาจากรูปเล่มรายงานต้องถูกตามระบบการเขียนรายงานและต้องมีเอกสารอ้างอิงอย่างน้อย 5
        เล่มและใช้เว็บไซท์ อย่างน้อย 3 เว็บไซท์       
       -นักศึกษาเข้าร่วมโครงการปฏิบัติธรรมถวายในหลวงประจำปี 2561
        -นักศึกษาควรมีส่วนร่วมในการใช้ผ้าพื้นเมือง ถุงผ้า การใช้หลัก 3R ช่วยลดภาวะโลกร้อนและ 3D
     2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
     2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
           นักศึกษามีความรู้เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ  หลักธรรมาภิบาล ภูมิปัญญา การคิดและการบริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรมและหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
ใช้วิธีการสอนแบบบรรยายและเน้นการทำกิจกรรมกลุ่มการดูพื้นที่จริงและการฝังตัวเรียนรู้ร่วมกัน  การนำเสนอหน้าชั้น การอภิปรายกลุ่ม การทำบัญชีรายรับรายจ่ายเพื่อรู้การใช้จ่ายของตนเอง ฝึกการออมโดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student Center) และการเรียนโดยศึกษานอกสถานที่ ได้รับประสบการณ์ตรง
-ทดสอบย่อยเป็นรายหน่วย
      -กิจกรรมจิตอาสา จิตสาธารณะ
      -การทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย การนำเสนอในชั้นเรียน
      -การระดมสมองในการคิด วิเคราะห์
      -การแสดงความคิดเห็น การซักถามในชั้นเรียน
      -การทำงานกลุ่มโดยนำภูมิปัญญามาพัฒนาต่อยอดโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้  โดยการเปิด “สร้างธุรกิจชุมชนแบบต่อยอด”
       3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
       3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
               การสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนช่วยให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากเกษตรกรและชุมชนที่ดำเนินตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การออมการทำบัญชีรายรับรายจ่าย การรวมกลุ่มกันสร้างความเข้มแข็งในชุมชน การฝึกคิดวิเคราะห์แบบโยนิโสนมสิการเพื่อทันต่อโลกโลกาภิวัฒน์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงแต่ไม่หลงกระแส เข้าใจหลักการธรรมาภิบาลและการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง สมดุล ยั่งยืนการบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรมและหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
      -ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำงานและนำเสนอผลงานโดยส่งรูปเล่มรายงานก่อนรายงาน 1 สัปดาห์ และนำเสนอรายงานในรูป Power point
      -ให้นักศึกษาทัศนศึกษา ลงพื้นที่ดูตัวอย่างเกษตรกรที่ทำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
       -ให้นักศึกษาลงปฏิบัติงานจริงในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ดูวิธีการทำงาน
-การทำงานเป็นทีมและการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
-รายงานกลุ่ม (ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงาน เนื้อหาครบถ้วนพร้อมรูปกิจกรรม)
-สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
      4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
       4.2  มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
       4.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
       4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม      
             นักศึกษามีความรู้เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ  หลักธรรมาภิบาล ภูมิปัญญา การคิดและการบริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรมและหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
-ใช้วิธีสอนแบบบรรยายและการสอนแบบปฏิบัติจริง ศึกษาจากตัวอย่างจริง และลงพื้นที่ศึกษาชุมชน
-กำหนดปฏิทินเวลาและแผนการศึกษาดูงาน และการนำเสนองานจากการลงพื้นที่
-ผู้สอนและนักศึกษาช่วยกันเสริมเนื้อหาให้ครบถ้วนโดยใช้ Power point ของผู้สอนสรุปเพื่อเพิ่มเนื้อหาให้
 ครอบคลุม
-เน้นเรื่องป่าสามอย่างประโยชน์สี่อย่าง
-เน้นเรื่องชุมชนต้นแบบและ SMEs, OTOP,Startup
-ให้เกษตรกรที่รับนักศึกษาเข้าร่วมปฏิบัติงานเพื่อเรียนรู้ธุรกิจชุมชนประเมิน
-ครูประเมินตามแบบการนำเสนอ
-สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการเข้าศึกษาชุมชน
-การร่วมกิจกรรมจิตอาสา หรือพัฒนาจิต
-การตอบคำถามในกลุ่ม www.facebook.com
       5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
       5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา  วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
       5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        วิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำรงชีวิตพัฒนาทักษะการใช้ Internet โดยการสืบค้นข้อมูลจากการข้อมูลจากหนังสือพิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์และหนังสือพิมพ์อิเลคทรอนิกส์พัฒนาทักษะการเลือกรับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งสืบค้นต่างๆ ดู VCD เรื่อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และคลิปชุมชนต้นแบบ
       -ใช้การสอนแบบบรรยายและให้ดูตัวอย่างจากคลิปวีดีโอและให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเนื้อหาของผู้สอนจากเว็บไซท์ที่ผู้สอนจัดทำขึ้น www.facbook.com
       -ศึกษาในเว็บไซท์  www.sufficiencyeconomy.org 
       -ให้นักศึกษาเขียนเว็บบอร์ดเสนอแนวคิดให้สังคมตอบในช่องของเว็บบอร์ดแบบไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
       -การนำเสนอรายงานทุกครั้งให้ใช้ Computer และ Power point
       -การรณรงค์ให้นักศึกษาทำ 3R, 3D
       -ดูจากการทำ Power point นำเสนอผลงาน
       -วิเคราะห์จากการดู VCD
       -ที่นักศึกษาตอบในเว็บไซค์
       -นักศึกษาสามารถทำและใช้งาน Power point  ได้
       -บัญชีรายรับรายจ่ายที่สรุปเรียบร้อยแล้ว
       -การแสดงความคิดเห็น การใช้เหตุผล การประหยัด การนำกลับมาใช้ใหม่ และอื่นใน 3R,3D
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.คุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4
1 GEBSO101 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-6 สอบกลางภาคและปลายภาค 8 และ 17 60%
2 2.1-2.6,4.1-4.2,5.4,6.2 กิจกรรมกลุ่มอภิปรายหลักการทรงงานฯ,กิจกรรมศึกษาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ,กิจกรรมกลุ่มสาธิตภูมิปัญญาไทย,ลงปฏิบัติแปลงผักข้างสำนักงานปลูกป่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม,ลงพื้นที่ศึกษาชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาจิตอาสา 3,4,7,12,15 30%
3 บทที่ 1-6 - การเข้าชั้นเรียน - การซักถาม - การตอบคำถาม - การตั้งใจเรียน - การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม - การแสดงความคิดเห็น - ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต เรียบเรียงโดย แผนกวิชาสังคมศาสตร์  สาขาศิลปศาสตร์  คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  
    
กรมวิชาการ.  แนวการจัดการเรียนรู้เกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ :กรมวิชาการ.2542.
กระทรวงศึกษาธิการ . โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา. กรุงเทพฯ (เอกสารอัดสำเนา) 2549. 
กระทรวงศึกษาธิการ.ทฤษฏีใหม่ในหลวงชีวิตที่พอเพียง.กรุงเทพฯ:ร่วมด้วยช่วยกัน.2542.277หน้า.
โฆษิต อินทวงศ์. (2549). เอกสารประกอบการสอน กระบวนวิชา HU 801 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์กร
            (Human Behaviors in Organization). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะ
            ศึกษาศาสตร์, ภาควิชาการศึกษาต่อเนื่อง.
จรัญ จันทลักขณา.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับความสุขมวลชนและการเกษตรยั่งยืน.กรุงเทพฯ:เสริมมิตร.
            2549.137หน้า
ณรัชช์อร ศรีทอง.แนวคิด หลักการและการปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.
             2556.289
 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.เศรษฐกิจพอเพียง นำสู่สงคมอยู่เย็นเป็นสุข
            ร่วมกัน.กรุงเทพฯ:ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต.2540.197หน้า
สุนทร  กุลวัฒนาวรพงศ์. ตามรอยพระราชขดำริเศรษฐกิจพอเพียง-ทฤษฎีใหม่.กรุงเทพฯ:สุวีริยาสาส์น2544.192
            หน้า
ประเวศ วะสี. (2546). คมคิด เศรษฐกิจพอเพียง. ค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2549 จากhttp://th.wikipedia.org/wiki
ประดิษฐ์ มัชฌิมา.สังคมวิทยาชนบทและการสหกรณ์.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2523.399หน้า
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.เศรษฐกิจพอเพียง นำสู่สงคมอยู่เย็นเป็นสุข
             ร่วมกัน.กรุงเทพฯ:ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต.2540.197หน้า (330.9593)
จรัญ จันทลักขณา.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับความสุขมวลชนและการเกษตรยั่งยืน.กรุงเทพฯ:เสริม
               มิตร.2549.137หน้า
สุนทร กุลวัฒนาวรพงศ์.ตามรอยพระราชขดำริเศรษฐกิจพอเพียง-ทฤษฎีใหม่.กรุงเทพฯ:สุวีริยาสาส์น
                2544.192หน้า
ประยุทธ์ ปยุตโต.การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพมหานคร:
               สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.2546
ยศ  สันตสมบัติ.มนุษย์กับวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ:ธรรมศาสตร์.2556.384
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช   พระราชทานแก่คณะครู
   และนักเรียนที่ได้รับพระราชทานรางวัล ณ ศาลาดุสิดาลัย,. ม.ป.ท. . 2537
     - เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 
   การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา
   -นักศึกษาเป็นผู้ทำแบบประเมินการนำเสนอ
   -นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
  การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้
    -สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียนในการอภิปรายกลุ่มใหญ่
    -สังเกตจาการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
    -ประเมินจากผลการนำเสนอ
    -ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
    -ประเมินจากการร่วมกิจกรรมจิตอาสา
     การปรับปรุงการสอนวิชานี้คือ
     -แก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันเหตุการณ์เสมอ ยกตัวอย่างกรณีศึกษาให้ทันสมัย
     -ให้นักศึกษาเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้
     -ศึกษาคลิป ชุมชนต้นแบบที่ทำจริงและมีอยู่จริง    
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าหรือมีการพัฒนาที่ผิดปกติแก้โดยการขอพบนักศึกษา แจ้งผลการได้รับคะแนนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
    -วิชานี้ต้องปรับปรุงเนื้อหาทุก 3 ปี เพราะมีการเปลี่ยนแปลงแนวคิดต่างๆ
    -เชิญวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้เช่น ผู้ประสบความสำเร็จในอาชีพ ศิษย์เก่าที่ประสบความสำเร็จ นักศึกษาที่เรียนดีและได้รับรางวัล เป็นต้น
    -เข้าร่วมกับชุมชนเปิดเวทีชาวบ้าน
    -ให้นักศึกษาเข้าไปมีส่วนในการพัฒนามหาวิทยาลัย พัฒนาชุมชนและสังคม