ภาษาอังกฤษเทคนิค

Technical English

    1. พัฒนาทักษะการฟังพูดเพื่อสื่อสารในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
    2. เข้าใจสาระสำคัญ และสรุปความจากการอ่านและฟังเกี่ยวกับวิชาชีพ
    3. เขียนโครงการ รายงาน และบันทึกเกี่ยวกับวิชาชีพ
    4. นำเสนอโครงการ ผลงาน และรายงานเกี่ยวกับวิชาชีพ
    5. ตระหนักในความสำคัญของการนำภาษาอังกฤษไปใช้ในการประกอบอาชีพ
     เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ   
พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) และแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาและฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพ
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในช่วงเวลาทำงาน  (Office Hours)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์สุจริต โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
          1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (1.1)
          1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (1.2)
          1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (1.3)       
1.2.1   กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับวินัยในชั้นเรียน การตรงต่อเวลา และพฤติกรรมในการเรียน (1.3)
1.2.2   สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในคาบเรียน  โดยเน้นการมีจิตสำนึก การรับผิดชอบต่อ
ตนเองและสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม (1.3)
1.2.3    มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้อื่น โดยให้ระบุที่มาขอแหล่งข้อมูลอย่างชัดเจน (1.2)
1.3.1    จากการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล มีการอ้างอิงเอกสารอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.2    จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลาและมี
                       ประสิทธิภาพและการเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1.3.3   จากการสอบถามการดำเนินชีวิตประจำวันของนักศึกษา
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2.1)
2.1.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา (2.2)
2.1.3   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง (2.3)
2.2.1    บรรยายและฝึกปฏิบัติในห้องเรียนหรือห้องปฏิบัติการภาษา (2.1)
2.2.2 จัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (2.1)  
2.2.3    มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ เช่น สื่ออิเลกทรอนิกส์ แล้วนำมา อภิปรายในชั้นเรียน (2.2)
2.2.4 มอบหมายให้นำเสนอผลงาน ทั้งในรูปแบบรายงานและปากเปล่า (2.1)
2.2.5   มอบหมายให้นักศึกษานำภาษาที่เรียนไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ นอกห้องเรียน (2.1+2.3)
2.3.1   จากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบข้อเขียน
            2.3.2   จากงานที่มอบหมายให้นักศึกษาทำในแต่ละบทเรียน
            2.3.3   จากการซักถาม โต้ตอบ
            2.3.4   จากการสังเกตความสนใจและความตั้งใจในการทำกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ โดยใช้ความรู้และทักษะด้านภาษาอังกฤษที่สำคัญในเนื้อหาตามที่เรียน มาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ปฏิบัติในสถานการณ์จริง  โดยนักศึกษาจะมีทักษะทางปัญญาที่สอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตร ได้แก่
        3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ( 3.1)
        3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ (3.2)
       3.2.1   ฝึกวิเคราะห์บทอ่านและเขียนสรุปใจความสำคัญ (3.1+3.2)
       3.2.2   กำหนดสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ เพื่อฝึกปฏิบัติให้สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (3.1+3.2)
3.3.1   จากการประยุกต์ความรู้ในสถานการณ์ที่กำหนดอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.3.2   จากการวิเคราะห์  ตอบคำถาม อภิปราย บทอ่าน และสรุปสาระสำคัญ ได้ถูกต้อง           
พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ตามข้อกำหนดในคุณสมบัติ
หลักสูตร ดังนี้
           4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  (4.1)
           4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4.2)
           4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4.3)   
           4.2.1   มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม (4.1+4.2 + 4.3)
           4.2.2   ให้มีการนำเสนอและอภิปรายกลุ่ม (4.1+4.2+4.3)
           4.2.3   ให้มีการเรียนรู้ร่วมกัน โดยแลกเปลี่ยนผลงานเขียนเพื่อตรวจสอบข้อบกพร่อง
                     (4.1+4.2+4.3)
          4.3.1   จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่มของนักศึกษา
           4.3.2  จากการประเมินคุณภาพผลงานที่นำเสนอของกลุ่ม
 พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามข้อกำหนดในคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
           5.1.1    สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  (5.1)
           5.1.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (5.2)
           5.1.3    สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ  (5.3)
5.2.1    มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากสื่ออิเล็คทรอนิคและสื่อประสมต่างๆ (5.1+5.2+5.3)
5.2.2    ให้มีการนำข้อมูลจากการค้นคว้ามาอภิปรายแลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่ม (5.3)
5.2.3    ให้นักศึกษาใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมประกอบการนำเสนอผลงานด้วยปากเปล่า (5.3)
5.3.1   จากข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นและรูปแบบการนำเสนอ ด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   จากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 13031005 ภาษาอังกฤษเทคนิค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1,5.3 การสอบกลางภาค 9 ร้อยละ25
2 2.1, 3.1,5.3 สอบปลายภาค 17 ร้อยละ25
3 2.1, 3.1,5.3 ทดสอบย่อย 2 ครั้งๆละ 10 คะแนน 8, 16 ร้อยละ 20
4 1.3, 2.1, 4.3, 5.2, 5.3 -การส่งงานตามที่มอบหมาย (assignments) -การศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ (presentation) -การเข้าร่วมกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติ (in class and university activities participation) -การทำงานกลุ่ม (group work- pair work) - โครงงาน (Project-based) ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ20
5 1.2, 4.1, 4.3 -จิตพิสัย - การเข้าชั้นเรียน (class attendance) -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ - การเขียนเรียงความแสดงความรู้สึกที่มีการจัดกิจกรรมในรายวิชา ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
    Infotech English for computer users by Santiago Remaha Eseras
http://www.blogger.com
http://www.gmail.com
www.facebook.com
1.1    สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน     
1.2   ใช้แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา     
1.3   สังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
2.1 สังเกตจากการสอนของผู้ร่วมทีมการสอน      
2.2 ประเมินจากผลการสอบของผู้เรียน     
2.3 ทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. 1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3. 2   วิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. 1   ทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน หรืออาจารย์ประจำหลักสูตร  4. 2   ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ ผลงาน  วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนงานที่มอบหมาย และการให้คะแนนพฤติกรรม  4. 3   สอบถามนักศึกษา
5. 1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะ  5. 2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองกว้างไกล