อาหารและการแปรรูปอาหารสัตว์

Feed Ingredient and Feed Processing

1.1  รู้ประเภทและองค์ประกอบทางเคมีในวัตถุดิบอาหารสัตว์ และอาหารสัตว์
     1.3  เข้าใจคุณค่าทางของโภชนะในวัตถุดิบอาหารสัตว์ และอาหารสัตว์
     1.5  มีทักษะในการประกอบสูตรอาหารสัตว์  การผลิตและการแปรรูปอาหารสัตว์
1.6  ตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบอาหารสัตว์ และอาหารสัตว์
เพื่อจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการความรู้ทางทฤษฎีนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติด้านการเลี้ยงสัตว์  มีการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน  และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
เพื่อจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการความรู้ทางทฤษฎีนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติด้านการเลี้ยงสัตว์  มีการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน  และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ให้คำปรึกษาตามตารางผู้สอน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
-นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address : nokgapood@gmail.com
-  ให้นักศึกษาติดต่อได้ทาง Facebook และ messenger รวมทั้ง line ได้ตลอดเวลา
.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 
5. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
6. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2 .โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.ข้อสอบอัตนัย
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
5. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
5.การประเมินตนเอง
6.การเขียนบันทึก
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
11. การสอนแบบปฏิบัติ 
12. การสอนแบบ  Brain  Storming Group  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
5.การเขียนบันทึก
6.โครงการกลุ่ม
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
4. การสอนแบบกรณีศึกษา
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ   
7. การสอนแบบปฏิบัติ 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ใช้  Power point  
2.มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.การนำเสนองานด้วยวาจา
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3.โครงการกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 23025311 อาหารและการแปรรูปอาหารสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3,1.4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10%
2 1.1, 1.2, 1.3,1.4, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน (ปฏิบัติ) ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1, 3.1, 3.2, 5.1,5.2 การสอบกลางภาค (ครั้งที่ 1 และ 2) 9 30%
4 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน 17 30%
5 2.1, 3.1, 3.2, 5.1,5.2 สอบปลายภาค 17 20%
ทวี  แก้วคง. 2537. โภชนศาสตร์สัตว์เบื้องต้นและการให้อาหารสัตว์.กรุงสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ.  242 น.
ธาดา  สืบหลินวงศ์ และนวลทิพย์  กมลวารินทร์. 2537. ชีวเคมีทางการแพทย์. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ 224 น.
บุญล้อม  ชีวะอิสระกุล. 2532 . โภชนศาสตร์สัตว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์, คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.  258 น.
บุญล้อม  ชีวะอิสระกุล. 2541. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ภาควิชาสัตวศาสตร์, คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,        เชียงใหม่. 178 น.
พันธิพา  พงษ์เพียจันทร์. 2535. หลักการอาหารสัตว์ เล่ม 1 โภชนะ. โอเดียนสโตร์ กรุงเทพฯ. 208 น.
มนตรี  จุฬาวัฒนทล, ยงยุทธ  ยุทธวงษ์, ชิษณุสรร  สวัสดิวัฒน์, ประหยัด  โกมารทัต, ประพันธ์  วิไลรัตน์, สกล  พันธุ์ยิ้ม และ   ภิญโญ  พานิชพันธุ์.2530. ชีวเคมี. ภาควิชาเคมี, คณะวิทยาศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหิดล. 651 น.
เมธา วรรณพัฒน์.2533. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวศาสตร์, คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 473 น.
เมธา  วรรณพัฒน์ และฉลอง  วชิรภากร. 2533. เทคนิคในการให้อาหารโคเนื้อและโคนม  ภาควิชาสัตวศาสตร์, คณะ     เกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 142 น.
สุกัญญา  จัตตุพรพงษ์. 2530. วัตถุดิบอาหารสัตว์ : การใช้และการตรวจสอบคุณภาพ. ศูนย์ฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ,  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กำแพงแสน, นครปฐม. 135 น.
สาโรจน์  ค้าเจริญ. 2523. อาหารและการให้อาหารสัตว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์, กรุงเทพฯ. 255 น. เสาวนิจ  คูประเสริฐ. 2527. อาหารสัตว์เบื้องต้น. ภาควิชาสัตวศาสตร์, คณะทรัพยากรธรรมชาติ,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์   วิทยาเขตหาดใหญ่. 134 น.
อุทัย  คันโธ. 2529. อาหารและการผลิตอาหารเลี้ยงสุกรและสัตว์ปีก. ศุนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ ,   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  กำแพงแสน, นครปฐม. 297 น.
Cheeke, P. R.  2005.  Applied Animal Nutrition: Feeds and Feeding. 3rd ed.  Pearson Prentice Hall, New Jersey.  604 p.
Church, D.C. and W.G. Pond.1988. Basic Animal Nutrition and Feeding. 3 rd  rev. Ed. John Wiley & Son, New York.472 p.
Ensminger, M.E., J.E. Oldfield, W.W. Heinemann. 1990. Feed & Nutrition Digest. 2nd ed. The Ensminger publishing company.  California.  794 p.
 
Kuchel, P.W. and G.B. Ralston. 1988. Theory and Problems of Biochemistry. 1st Ed. National Research Council (NRC) 2001. Nutrition Requirement for Dairy Cattle. 6 th  rev.ed. Natl.acad.  Sci., Washington           ,D.C. 157 p.
 
วารสารด้านอาหารสัตว์, Journal of Animal Science, Journal of Dairy Scienc  , เวปไซด์ด้านอาหารสัตว์ และการแปรรูปอาหารสัตว์  E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วารสารด้านอาหารสัตว์, Journal of Animal Science, Journal of Dairy Scienc  , เวปไซด์ด้านอาหารสัตว์ และการแปรรูปอาหารสัตว์  E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
-การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผลการประเมินจากนักศึกษา
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยในชั้นเรียน
-ทวนจากคะแนนสอบ และรายงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น