ทฤษฎีการบัญชี

Accounting Theory

1.1 เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาลักษณะของหลักการบัญชี แนวคิดของนักบัญชีและสมาคมนักบัญชีต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนวิวัฒนาการทางบัญชี แนวคิดเกี่ยวกับการวัดผลการดำเนินงาน ปัญหาเกี่ยวกับการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามลักษณะของธุรกิจและมาตรฐานสถาบันวิชาชีพ การวัดมูลค่าและปัญหาต่าง ๆ ของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ ตลอดจนวิธีการแสดงและการเปิดเผยรายการในงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี
2.1 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม    
2.3 เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านการบัญชีของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและคณะกรรมการบริหารวิชาชีพการบัญชี (การบัญชี)
ศึกษาลักษณะของหลักการบัญชี แนวคิดของนักบัญชีและสมาคมนักบัญชีต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนวิวัฒนาการทางบัญชี แนวคิดเกี่ยวกับการวัดผลการดำเนินงาน ปัญหาเกี่ยวกับการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามลักษณะของธุรกิจและมาตรฐานสถาบันวิชาชีพ การวัดมูลค่าและปัญหาต่าง ๆ ของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ ตลอดจนวิธีการแสดงและการเปิดเผยรายการในงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี
3.1  อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาผ่าน Facebook ได้ตลอดเวลา 3.2  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
(1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
(2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
(1) สร้างวัฒนธรรมองค์กรในสาขาวิชาเพื่อปลูกจิตสำนึกให้กับอาจารย์และบุคลากร ในการรักษาระเบียบวินัยของมหาวิทยาลัย ความมีส่วนร่วมในการพัฒนาสาขาฯ คณะและมหาวิทยาลัย การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในหน้าที่และความซื่อสัตย์สุจริต
(2) การสอนสอดแทรกในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในรายวิชา
(3) กำหนดกติกาการเข้าเรียน การส่งงานและการมีส่วนร่วมในการสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
(4) จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
(1) สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียนและความรับผิดชอบในการส่งงานที่ได้รับมอบหมายอย่างตรงเวลา
(2) มีการอ้างอิงเอกสารที่นำมาใช้ในการรายงาน/งานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการบัญชี แนวคิดของนักบัญชีและสมาคมนักบัญชีต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนวิวัฒนาการทางบัญชี แนวคิดเกี่ยวกับการวัดผลการดำเนินงาน ปัญหาเกี่ยวกับการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามลักษณะของธุรกิจและมาตรฐานสถาบันวิชาชีพ การวัดมูลค่าและปัญหาต่าง ๆ ของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ ตลอดจนวิธีการแสดงและการเปิดเผยรายการในงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี
(1) การเรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะมีการบรรยาย การฝึกปฏิบัติและมุ่งเน้นวิธีการปฏิบัติที่ทำให้ผู้เรียนมีทักษะการปฏิบัติงานได้จริงจากการเรียนรู้
(2) การเรียนการสอนที่เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้นวิธีการให้ผู้เรียนศึกษาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากการมอบหมายงานให้ฝึกปฏิบัติ
(3) การสอนแบบบรรยายและอภิปราย มุ่งเน้นการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน มุ่งสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียนโดยการตั้งคำถาม ให้คิดวิเคราะห์เพื่อการค้นหาคำตอบที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้และจำเป็นต่อการศึกษาความรู้ที่ทันสมัยด้วยตนเองเป็นหลัก
(4) ยกตัวอย่างการนำองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
(1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางธุรกิจ
(2) ตรวจสอบงานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาพิเศษ
(3) สังเกตพฤติกรรมการเรียนและการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการถามตอบในชั้นเรียน
(1) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ         
(2) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
(1) การบรรยาย การยกตัวอย่าง กรณีศึกษา และการถามตอบในชั้นเรียน
(2) เปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้าและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
(1) แบบฝึกหัดจากหนังสือและแบบฝึกหัดพิเศษ
(2) การสอบวัดผลในรายวิชา
(3) การประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
(1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน และมีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
(1) กำหนดหัวข้อให้นักศึกษาทำงานกลุ่มเพื่อเรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น
(2) ให้นักศึกษาจัดทำสื่อประกอบรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
(1) ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานของนักศึกษา
(2) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาเป็นรายบุคคลและพฤติกรรมในการทำงานกลุ่ม
(1) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมตามงานที่ได้รับมอบหมาย
(1) มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติและพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ที่จำเป็น เช่น การค้นคว้าด้วยตนเองทางสื่อออนไลน์ หรือการจัดทำและนำเสนอโดยการใช้ PowerPoint หรือเทคโนโลยีอื่น
(2) จัดทำสื่อประกอบการรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
(1) ประเมินผลงานจากสื่อประกอบการรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยใช้รูปแบบที่เหมาะสมและทันสมัย
(2) ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอและการอภิปรายผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 11011403 ทฤษฎีการบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 - การเข้าเรียน ไม่น้อยร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด - ประวัติการส่งงานตามที่มอบหมายตรงตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2,3 สอบกลางภาค (บทที่ 1-8) สัปดาห์ที่ 9 30%
3 1,2,3,4,5 เล่มรายงานฉบับสมบูรณ์และการนำเสนอรายงาน สัปดาห์ที่ 17 30%
4 2,3 สอบปลายภาค (บทที่ 9-14) สัปดาห์ที่ 18 30%
ทฤษฎีการบัญชี 2559 โดย อ.นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ, อ.ศิลปพร  ศรีจั่นเพชร
ศศิวิมล มีอำพล. ทฤษฎีการบัญชี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
ข้อมูลความเคลื่อนไหวทางวิชาชีพบัญชีที่
เว็บไซต์ของสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ www.fap.or.th
จดหมายข่าวของสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ (FAP Newsletter)
1.1 การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนรายบุคคลและผู้เรียนรายกลุ่ม
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.3 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยเมื่อสิ้นภาคการศึกษา ระบบออนไลน์
2.1 ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยเมื่อสิ้นภาคการศึกษา ระบบออนไลน์
2.2 ผลการสอน การดำเนินการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับแผนบริหารการสอน
2.3 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเรียนและการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
2.4 ผลงานของนักศึกษาที่ได้มอบหมายในระหว่างเรียนและผลการสอบปลายภาคเรียน
2.5 การทดสอบประเมินผลการเรียนรู้
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับทฤษฎีการบัญชี
3.1 แก้ไขเนื้อหาและยกตัวอย่าง กรณีศึกษาที่เกี่ยวกับทฤษฎีการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
3.2 สอบถามนักศึกษาถึงการเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้
3.3 การวิจัยทั้งในห้องเรียนและการวิจัยนอกห้องเรียน
ให้กรรมการด้านวิชาการเป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบและการตัดเกรด
4.1 มีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่มของผู้เรียนโดยผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาที่ผิดปกติหรือไม่ และมีการแจ้งผลของคะแนนที่ได้รับเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
4.2 ให้กรรมการด้านวิชาการเป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบและการตัดเกรด
5.1 นำข้อมูลที่ได้ผลจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในรายวิชา การประเมินผู้สอนและนำผลการสอนมาใช้พัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไปให้ดีขึ้น
5.2 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาทุกปี (เพิ่มเติมตัวอย่างระบบสารสนเทศทางการบัญชีในแต่ละธุรกิจที่หลากหลายและทันสมัยให้มากขึ้น)
5.3 ฝ่ายวิชาการเป็นผู้นำเสนอข้อสอบและการตัดเกรด ก่อนที่จะมีการสอบและการประกาศผล นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2 ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน วิธีการประเมิน และเนื้อหา