สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์

Statistics for Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ  ดังนี้
     1.1  รู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ
     1.2  เข้าใจวิธีการหาความน่าจะเป็น
     1.3  เข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
     1.4  เข้าใจการแจกแจงตัวอย่าง  การประมาณค่า  และทำการทดสอบสมมติฐานได้
     1.5  สามารถวิเคราะห์ความแปรปรวนได้
     1.6  สามารถวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ได้
     1.7  สามารถวิเคราะห์การทดสอบไคสแควร์ได้
     1.8  สามารถประยุกต์ความรู้ทางสถิติกับปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์ได้
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้เกี่ยวกับสถิติที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของสถิติ ขอบเขตและประโยชน์ของสถิติ ขั้นตอนการใช้สถิติเพื่อการตัดสินใจ ทฤษฎีความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและต่อเนื่อง  ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงการสุ่มตัวอย่าง การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ การทดสอบไคสแควร์ วิชานี้เน้นตัวอย่างและการประยุกต์ทางด้านวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียนในแต่ละสาขาวิชา
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้
3.1  วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้อง SC832 โทร. 081-9932744
3.2  e-mail: wiroj_mongkolthep@hotmail.com หรือ Facebook กลุ่มวิชาสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์ ได้ทุกวัน
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- ให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอและตรงต่อเวลา
- ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- มอบหมายงาน แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตามวันเวลาที่ได้กำหนด
- เช็คชื่อนักศึกษาหลังจากเวลาเรียนไปแล้ว 15 นาที
- สังเกตนักศึกษาในทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- ตรวจผลงานที่มอบหมายงาน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุง และ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ให้นักศึกษาตอบคำถามในเนื้อหาที่สอน
- ให้นักศึกษายกตัวอย่างเพิ่มเติมจากเนื้อหาที่สอน 
- ทำข้อสอบประจำบทเรียน
- สังเกตลักษณะคำตอบและการมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
- สังเกตลักษณะการยกตัวอย่างและการมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
- ข้อสอบประจำบทเรียน
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
- ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- มอบหมายงาน แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตามวันเวลาที่ได้กำหนด
- ทำข้อสอบประจำบทเรียน
- สังเกตนักศึกษาในทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- ตรวจผลงานที่มอบหมายงาน
- ข้อสอบประจำบทเรียน
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
- ให้นักศึกษาได้มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนขณะเรียน เช่น การตรวจสอบคำตอบของแบบฝึกหัดแต่ละข้อร่วมกัน
- สังเกตการมีปฏิสัมพันธ์ขณะเรียน
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าหรือการเขียนเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
- ให้นักศึกษาเรียนรู้ในห้องเรียนและนอกห้องเรียนต่อการใช้เครื่องคำนวณในรายวิชานี้
- สังเกตการใช้เครื่องคำนวณในชั้นเรียน
- ข้อสอบประจำบทเรียน (นักศึกษาสามารถนำเครื่องคำนวณเข้าห้องสอบได้ทุกบท)
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCC207 สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 1 และบทที่ 2 4 (นอกเวลาเรียน) 5%+5% = 10%
2 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การสอบกลางภาค บทที่ 3 และบทที่ 4 9 10%+10% = 20%
3 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การทดสอบย่อย (Quiz) บทที่ 5 และบทที่ 6 12 (นอกเวลาเรียน) 10%+10% = 20%
4 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 การสอบปลายภาค บทที่ 7, บทที่ 8 และบทที่ 9 18 10%+10%+10% = 30%
5 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.2 งานที่มอบหมาย 1-8, 10-17 10%
6 1.3, 4.1 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบในรายวิชา 1-8, 10-17 10%
วิโรจน์ มงคลเทพ. 2557. เอกสารประกอบการสอนวิชาสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา 22071204. น่าน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
-
[1] กัลยา วานิชย์บัญชา. (2554). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[2] คณาจารย์ภาควิชาสถิติ. (2541). สถิติเบื้องต้น. เชียงใหม่: หน่วยพิมพ์เอกสาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[3] ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2556). ตารางสถิติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 2 พฤษภาคม 2556. จาก http://www.watpon.com/th/mod/page/view.php?id=17.
[4] ธีรศักดิ์ อุรัจนานนท์. (2546). ความน่าจะเป็นและสถิติประยุกต์ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท สยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด.
[5] พิษณุ เจียวคุณ. (2545). สถิติเบื้องต้นสำหรับสังคมศาสตร์ 1. เชียงใหม่: ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[6] มานพ วงศ์สายสุวรรณ และคณะ. (2553). ความน่าจะเป็นและสถิติสำหรับวิศวกรรมไฟฟ้า. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[7] รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ. (2556). สถิติวิเคราะห์ 2. ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 1 เมษายน 2556. จาก http://www.stat.mju.ac.th/rungkarn/lesson.htm.
[8] ศรีเพ็ญ ทรัพย์มนชัย. (2547). สถิติธุรกิจ โจทย์ปัญหาและคำเฉลย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[9] ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[10] สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2552). สถิติเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8).  กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.
[11] สุรินทร์ นิยมางกูร. (2546). เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[12] อรุณี  อ่อนสวัสดิ์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. พิษณุโลก: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษารายงานตนเองเพื่อสะท้อนถึงความรู้ความเข้าใจต่อการเรียนรายวิชานี้ โดยเขียนบรรยายลงบนกระดาษที่แจกให้ในชั้นเรียน
การประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ซึ่งนักศึกษาจะต้องทำการประเมินผลการสอนออนไลน์ในระบบทะเบียนกลางของมหาวิทยาลัย
แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ได้แก่ ด้านการสอน ด้านสื่อ ด้านประเมิน และด้านปกครอง
4.1  ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา จากการตั้งคำถามต่างๆ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักศึกษา
4.2  ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษา ผลการสอบกลางภาค และผลการสอบปลายภาค
4.3  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ คะแนนสอบ  และคะแนนพฤติกรรมการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
5.1  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินการโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา
5.2  วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)