การวางผังโครงการ

Site Planning

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้   1.1 เข้าใจความหมายและกระบวนการวางผัง ทฤษฎี หลักการ แนวคิดและกรณีศึกษา นโยบายและข้อจำกัดในการวางผัง โครงการ 1.2.ใช้กระบวนการวางผัง ทฤษฎี หลักการแนวคิดและกรณีศึกษา นโยบายและข้อจำกัดในการวางผัง 1.3สังเคราะห์ทฤษฎี หลักการแนวคิดและกรณีศึกษา นโยบายและข้อจำกัดในการวางผัง 1.4มีทักษะในการวางผังและนำเสนอผังโครงการ 1.5เห็นคุณค่าและเกิดทัศนคติที่ดีต่อการวางผังโครงการ
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้และได้ทักษะในการฝึกปฏิบัติการวางผังโครงตามขั้นตอนการดำเนินงาน และสามารถค้นคว้าองค์ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาพัฒนาและประยุกต์ใช้ในการดำเนินการ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและกระบวนการวางผัง ทฤษฎี หลักการ แนวคิด และกรณีศึกษา นโยบาย ข้อจำกัดในการวางผังโครงการ การศึกษาข้อมูลเพื่อการวางผังโครงการ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ปฏิบัติการวางผังและนำเสนอผังบริเวณ Study and practice about the meaning and process of planning; theories, principles, concepts and case studies; policy restrictions on the planning of the project; Educational information to the planning scheme; Analyze and synthesize information; the planning of the project and presentation of the site plan
 วัน พุธ  เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ โทร... 054 342547-8 ต่อ 118  แก้ไข
1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทาง ส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
 2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพ 
มีการบรรยายและมอบหมายงานโครงการให้นักศึกษาทำทั้งแบบรายบุคคลและงานกลุ่ม ซึ่งมีการค้นคว้า ศึกษาและทำงานร่วมกันโดย สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ และกระตุ้นให้นักศึกษา ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบในการดำเนินงานมอบหมาย
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากการดำเนินงานมอบหมาย
1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง      
2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการ ด ารงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 
บรรยายเนื้อหาหลักตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา โดยแสดงถึงความสำคัญและการใช้ทฤษฎี หลักการและแนวคิดต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง และศึกษากรณีศึกษา เพื่อทราบความก้าวหน้าทางวิชาการ ทั้งการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และบูรณาการ  การคาดการณ์ ในงานวางผังโครงการที่นักศึกษาเลือกทำโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทั้ง เน้นการฝึกฝนทักษะในการดำเนินงานโครงการ
สังเกตจากพฤติกรรม ความสนใจ การซักถามในเนี้อหาที่เรียน ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
 1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมี เหตุผลและคิดแบบองค์รวม  
   2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน น ามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่  
   3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่าง สม่ าเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถน าไปใช้ในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 
 มีการบรรยายและฝึกทักษะจากงานมอบหมาย ที่ต้องประยุกต์ใช้องค์ความรู้เพื่อการวางผังโครงการ โดยมีการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์และคาดการณ์อย่างเป็นระบบ  แก้ไข
สังเกตจากพฤติกรรมในการเรียน การซักถาม และการทวนสอบในการเรียนในชั้นเรียน จากงานมอบหมายในการวางผังโครงการ ในกระบวนการขั้นตอนการใช้ข้อมูล การคิดวิเคราะห์  แก้ไข
1 ภาวะผู้น า หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและ ความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้น ากลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและ สถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้น าและผู้ตาม
2 มีจิตอาสาและส านึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตส านึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสา ธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งท าประโยชน์ให้สังคม 
ฝึกนักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ในงานโครงการที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และสอดแทรกเนื้อหา หรือตัวอย่างหรือสนับสนุนกิจกรรมในการใช้ความรู้ในการช่วยเหลือสังคม
จากการทำงานมอบหมายในลักษณะงานกลุ่ม จากผลงานในแต่ละขั้นตอน สังเกตพฤติกรรมในการทำงานกลุ่ม สังเกตจากการทำงานอื่นๆ เช่นจากกิจกรรมของนักศึกษาในการใช้ความรู้กับการช่วยเหลือสังคม
1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและ เขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการ สื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
จากงานมอบหมายงานโครงการและการนำเสนองาน
สังเกตพฤติกรรมและจากผลงานโครงการที่ทำ ตลอดจนการนำเสนงาน
        มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน วิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ ความรู้ทางวิชาชีพ     
        จากงานมอบหมายงานโครงการและการนำเสนองาน
จากผลงานโครงการที่ทำ ตลอดจนการนำเสนงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 2 1 1
1 BSCAG164 การวางผังโครงการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 การทดสอบแต่ละหน่วยเรียนจากผลงาน 1-17 70
2 2 งานที่มอบหมาย 4,15-17 20
3 1-6 จิตพิสัย 1-17 10
 เดชา บุญค้ำ การวางผังบริเวณและงานบริเวณ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 
ทฤษฎี หลักการ แนวคิด และกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับงานโครงการที่นักศึกษาทำ  แก้ไข
ปัญหาพิเศษและจากงานโครงการของนักศึกษารุ่นก่อน และจากผลงานของนักศึกษาสถาบันอื่น
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
การประเมินผลผลของมหาวิทยาลัยและของอาจารย์ผู้สอน
หลักสูตรและจากอาจารย์ผู้สอน
ทวนสอบจากงานที่มอบหมายและผลงาน
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป