การผลิตกล้วยไม้เพื่อการค้า

Commercial Orchid Production

1.1 เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติให้มีความซื่อสัตย์ มีวินัย รับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงานด้านการผลิตกล้วยไม้ มีจิตสาธารณะ มีภาวะผู้นำ และทำงานเป็นทีมได้
1.2 เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติให้มีความรู้ทางวิชาการ และวิชาชีพด้านกล้วยไม้ มีทักษะและสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมด้านกล้วยไม้
1.3 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ นำคามรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพได้ ช่วยเหลือชุมชนได้
เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักวิธีการผลิตกล้วยไม้ เพื่อจำหน่ายไม้ตัดดอกหรือไม้กระถางได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ ชนิดและพันธุ์ของกล้วยไม้ที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศและต่างประเทศ เทคนิคการปลูกและการดูแลรักษาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ การขยายพันธุ์ การจัดการโรงเรือน วัสดุปลูกและภาชนะปลูกที่ประหยัดและมีผลในทางการค้า การบรรจุหีบห่อ การขนส่งและการตลาด
3
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
บรรยาย
ปฏิบัติ
ประเมินตนเอง
ประเมินโดยเพื่อน
ทำรายงาน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยาย
ปฏิบัติ
สังเกต
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
บรรยายและปฏิบัติ
สังเกต
การนำเสนองาน
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยายและปฏิบัติ
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
โครงการกลุ่ม
การสังเกต
การนำเสนองาน
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษาวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
ใช้ power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้น ศึกษาวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
งานที่ให้ปฏิบัติผลตามสภาพจริง
โครงการกลุ่ม
การสังเกต
การนำเสนองาน
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
ปฏิบัติงานในโรงเรือนกล้วยไม้ และ ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
สังเกต 
จากงานมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 6. ด้านทักษะปฏิบัติ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะปัญญาที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1 BSCAG154 การผลิตกล้วยไม้เพื่อการค้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5 %
2 ความรู้ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 ทักษะทางปัญญา การทดสอบย่อย 3 ครั้ง สอบกลางภาค 4, 6, 10 และ สัปดาห์ที่ 8 5% กลางภาค 5%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการวิเคราะห์และตัวเลข การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
5 ทักษะทางปัญญา การสอบปลายภาค 17 65%
1. กฤษดา น้อยพิทักษ์. 2559. การจัดทำฐานข้อมูลต้นทุนการผลิตกล้วยไม้แยกตามขั้นตอนการผลิตและแนวทางการลดต้นทุนการผลิต กรณีศึกษาสวนกล้วยไม้
    คุณสินชัย น้อยพิทักษ์ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. หลักสูตร เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรม
    ศาสตร์ กรุงเทพฯ. 81 หน้า.
2. กรมวิชาการเกษตร. 2545. เกษตรดีที่เหมาะสมสาหรับกล้วยไม้ตัดดอก. เกษตรดีที่เหมาะสม ลําดับที่ 28. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.
3. กรมวิชาการเกษตร. 2547. เอกสารวิชาการกล้วยไม้. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ. 152 หน้า.
4. กรมวิชาการเกษตร. 2550. มาตรฐานกล้วยไม้ของประเทศไทยและการผลิตกล้วยไม้อย่างถูกต้องและเหมาะสม. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
5. กิตติยา รินเพ็ง. 2560. ไม้ดอก. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร http://www.agriinfo. doae.go.th. year
   60/rortor/flower/all.pdf. สืบค้นวันที่ 19 กรกฎาคม 2558
6. คณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ. 2554. ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก. กรมส่งเสริมการเกษตร กรุงเทพฯ. 87 หน้า.
7. ครรชิต ธรรมศิริ. 2547. เทคโนโลยีการผลิตกล้วยไม้. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. 283 หน้า.
8. จิตราพรรณ พิลึก. 2536. การเพาะเมล็ดและเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
   กรุงเทพฯ. 83 หน้า.
9. จิตราพรรณ พิลึก. 2550. การเพาะเมล็ดและเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้. เอกสารประกอบการฝึกอบรมประชาชนหลักสูตรการเพาะเมล็ดและเพาะเลี้ยง
   เนื้อเยื่อกล้วยไม้ ณ สวนกล้วยไม้ระพี สาคริก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรงุเทพฯ: ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
   81 หน้า.
10. จงวัฒนา พุ่มหิรัญ สุภาพ สุนทรนนท์ สุภาภรณ์ ลาชาติ พฤกษ์ คงสวัสดิ์ สุภาพร ส่างอ่อน มานิตย์ ใจฉกรรจ์ ทศพล สุเณรุ เกษมศักดิ์ ผลากร นภารัตน์ กุมารติ
       สุภาสินี ศาสตร์สมบูรณ์ และชุติมา สุขใจ. 2548. กล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์การค้าในประเทศไทย. กรมวิชการเกษตร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ. 239 หน้า.
11. ฉัตรชัย เงินแสงสรวย อ้อพร เผือกคล้าย และ สมราน สุดดี. 2555. ความหลากหลายของกล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง. รายงานฉบับ
      สมบูรณ์ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรุงเทพฯ. 114 หน้า.
17. นุสรา เจะแว.  2558.  ดอกกล้วยไม้.  ศิลปนิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
     สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.  จังหวัดปัตตานี.  114 หน้า.
18. ปณิธิ ยองประยูร.  2560.  สถานการณ์กล้วยไม้โลก: สินค้ากล้วยไม้.  สำนักพัฒนาการค้าและธุรกิจการเกษตรและอุตสาหกรรม.  http://www.ditp.go.th/
       contents   สืบค้นวันที่ 14 กรกฎาคม 2561.
 
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชาด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
ผลการเรียนของนักศึกษาและรายงาน์
อาจารย์ผู้สอน สังเกตการเรียนของนักศึกษา
ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย
นำผลจากการทวนสอบและการวางแผนปรับปรุง